Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑาทิพย์ เฉลิมผล-
dc.contributor.advisorรุจ ศิริสัญลักษณ์-
dc.contributor.advisorอภิรัฐ บัณฑิต-
dc.contributor.authorเกษมสันต์ อาษากิจen_US
dc.date.accessioned2022-07-08T10:28:32Z-
dc.date.available2022-07-08T10:28:32Z-
dc.date.issued2021-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73579-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to explore specific personal, economic, and societal characteristics of Japanese sweet potato growers in a highland area in Chiang Mai Province, 2) to study the growers' quality of life, and 3) to identify factors affecting the quality of life of these growers. Data were obtained from 90 Japanese sweet potato growers in three areas under the Pangda Royal Agricultural Station, the Mae Tha Neur Royal Project Development Center, and the Mok Cham Royal Project Development Center. The research employed the standard questionnaire: World Health Organization Quality of Life Brief – Thai (WHOQOL-BREF-THAI) developed by the Department of Mental Health, Ministry of Public Health. Descriptive statistics were used for data analysis, including percentage, mean, maximum, minimum, and standard deviation. Hypotheses were tested using multiple regression analysis. The results showed that most Japanese sweet potato growers were male, with an average age of 45.93. They mostly completed primary education and were married. The growers had 2.31 household laborers on average and an average of 15.49 years of farming experience. The farmers received an average net income of 7,703 THB/month with an average net income of 6,930 THB/month from growing Japanese sweet potatoes. Most growers had outstanding debt; however, some did have financial savings. Overall, the growers' quality of life was at a moderate level (𝑥̅= 3.40). Factors correlating to the quality of life with statistical significance at 0.01 level (p<0.01) included farming experience, income from growing Japanese sweet potato, and perception of security of life and property.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมันเทศญี่ปุ่นen_US
dc.titleคุณภาพชีวิตของผู้ปลูกมันเทศญี่ปุ่นบนพื้นที่สูงในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeQuality of life of Japanese sweet potato growers on highland area, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสถานีเกษตรหลวงปางดะ-
thailis.controlvocab.thashศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่ทาเหนือ-
thailis.controlvocab.thashศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม-
thailis.controlvocab.thashมันเทศญี่ปุ่น -- การปลูก-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเกษตรที่สูง -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ และสังคมบางประการของผู้ปลูกมันเทศญี่ปุ่น 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ปลูกมันเทศญี่ปุ่น และ 3) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ปลูกมันเทศญี่ปุ่นบนพื้นที่สูงในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ ผู้ปลูกมันเทศญี่ปุ่นบนพื้นที่สูงในจังหวัดเชียงใหม่จานวน 3 พื้นที่คือ สถานีเกษตรหลวงปางดะ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่ทาเหนือ และศูนย์พัฒนาโครงการหลวง หมอกจ๋าม รวมทั้งสิ้น 90 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากเครื่องมือชี้วัดคุณภาพชีวิต ขององค์การอนามัยโลกชุดย่อฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF-THAI) ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่า สุด และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทา การวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ปลูกมันเทศญี่ป่นุ บนพื้นที่สูงในจังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 45.93 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษา และมีสถานภาพสมรส เกษตรกรมีจานวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.31 ราย และระยะเวลาในการทาการเกษตรเฉลี่ย 15.49 ปี เกษตรกรมีรายได้สุทธิเฉลี่ย 7,703 บาท/เดือน และมีรายได้จากการปลูกมันเทศญี่ปุ่นเฉลี่ย 6,930 บาท/เดือน เกษตรกรส่วนใหญ่มีหนี้สิน แต่ยังพบว่าเกษตรกรบางส่วนยังมีเงินออม โดยผู้ปลูกมันเทศ ญี่ปุ่น มีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (𝑥̅= 3.40) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ระยะเวลาในการทา การเกษตร รายได้จากการปลูกมันเทศญี่ปุ่น และความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินมีผลต่อคุณภาพชีวิตของเกษตรกรอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < 0.01)en_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610832006 เกษมสันต์ อาษากิจ.pdf2.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.