Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73564
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBurapha Phajuy-
dc.contributor.advisorChristoph A. Hauzenberger-
dc.contributor.authorSuwijai Jatupohnkhongchaien_US
dc.date.accessioned2022-07-08T09:37:43Z-
dc.date.available2022-07-08T09:37:43Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73564-
dc.description.abstractThe pyroclastic and associated rocks were mapped as a Silurian-Devonian unit in the lower part of the study area (Kanchanaburi area) and are mapped as a Mesozoic unit in the upper part of the study area (Uthai Thani area). These rocks were poorly investigated and their geotectonic setting is uncertain. Their outcrops are generally massive and elongate trending NW-SE direction which unconformably overlay meta-sedimentary rocks. These rocks are metamorphosed in a low-grade metamorphism. This study researches both meta-igneous and associated meta-sedimentary rocks. Based on geochemical and geochronological data, the meta-igneous rocks can be classified into three groups, which are typical calc-alkaline series and have continental arc-affinity: Group I Kanchanaburi Calc-Alkaline Rock I, Group II Kanchanaburi Calc-Alkaline Rock II, and Group III Uthai-Thani Calc-Alkaline Rock. Group I consist of meta-crystal and meta-lithic tuffs and can be chemically classified as dacitic-rhyolitic rocks. U-Pb zircon dating indicates that this group was emplaced during ca. 482-480 Ma. Group II consist of meta-lithic tuffs and can be chemically classified as trachyandesitic rocks. U-Pb zircon dating indicates that this group was emplaced during ca. 498-494 Ma. Both groups are analogous to the Quaternary rhyolite from the Andean Northern volcanic zone, Ecuador, related to active continental margin. Group III consist of meta-crystal and meta-vitric tuffs and can be chemically classified as dacitic-rhyolitic rocks. U-Pb zircon dating indicates that this group was emplaced during ca. 301 Ma. This group is analogous to the Pliocene rhyolitic ignimbrite from the Andean Southern volcanic zone, Argentina, related to active continental margin. The meta-sedimentary rocks consist of quartzites and meta-sandstones and can be chemically classified as arkose, subarkose, sublitharenite, and quartz-arenite. Their tectonic settings are the passive continental margin Their provenances are the quartzose sediments of mature continent, which is possibly the Sibumasu Terrane. The meta-sedimentary rocks are analogous to the Post-Archean Average Australian Sedimentary rock (PAAS) and the Present Upper Continental Crust (UCC), which have been formed as a passive margin. The results of this study suggest that the emplacement of the Kanchanaburi Calc-Alkaline Rock I and II (Pak Phraek Tuff) in the Sibumasu Terrane is related to the Proto-Tethys ocean closure during Late Cambrian to Early Ordovician (ca.500-480 Ma). The emplacement of the Uthai-Thani Calc-Alkaline Rock in the Sukhothai Arc is related to the Palaeo-Tethys ocean closure during Late Carboniferous-Early Permian (ca. 300 Ma). Furthermore, the meta-sedimentary rocks (Bo Phloi and Ban Rai formations) have taken place in the Palaeo-Tethys ocean extension during Middle Devonian.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleGeochemistry, U–Pb dating, and Tectonic settings of the Silurian-Devonian Pyroclastic and Associated Rocks, Uthai Thani and Kanchanaburi Provincesen_US
dc.title.alternativeธรณีเคมี การหาอายุโดยยูเรเนียม-ตะกั่ว และสภาพการแปรสัณฐานของหินตะกอนภูเขาไฟและหินที่เกี่ยวข้องอายุไซลูเรียน-ดีโวเนียน จังหวัดอุทัยธานีและกาญจนบุรีen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshSedimentary rocks-
thailis.controlvocab.lcshRocks-
thailis.controlvocab.lcshGeochemistry-
thailis.controlvocab.lcshAnalytical geochemistry-
thailis.controlvocab.lcshSediments (Geology) -- Analysis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractหินตะกอนภูเขาไฟและหินที่เกี่ยวข้องทางตอนใต้ของพื้นที่ศึกษาบริเวณจังหวัดกาญจนบุรีได้รับการศึกษาว่าเป็นหินยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน และบางส่วนอยู่บริเวณทางตอนเหนือของพื้นที่ศึกษาบริเวณจังหวัดอุทัยธานีได้รับการศึกษาว่าเป็นหินยุคมีโซโซอิก หินเหล่านี้ยังมีการศึกษาที่น้อยมากและสภาพการแปรสัณฐานยังคลุมเครือ หินโผล่ของหินเหล่านี้มีลักษณะเป็นมวลแน่น วางตัวยาวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และวางตัวไม่ต่อเนื่องอยู่บนหินตะกอน หินเหล่านี้ถูกแปรสภาพเป็นหินแปรเกรดต่า การศึกษาในครั้งนี้จึงศึกษาทั้งหินอัคนีแปรและหินตะกอนแปรที่เกี่ยวข้อง หินอัคนีแปรสามารถจาแนกออกเป็นสามกลุ่มโดยอาศัยข้อมูลธรณีเคมีและธรณีกาลวิทยา ซึ่งหินทั้งสามกลุ่มเป็นชุดหินแคลก์-แอลคาไลน์และมีลักษณะการเกิดแบบแนวโค้งทวีป ได้แก่ (1) หินแคลก์-แอลคาไลน์กาญจนบุรี I ประกอบด้วย หินเถ้าผลึกภูเขาไฟแปรและหินเถ้าเศษหินแปร หินกลุ่มนี้สามารถจาแนกทางเคมีได้เป็นหินเดไซต์-ไรโอไลต์ การหาอายุโดยธาตุยูเรเนียม-ตะกั่วบ่งชี้ว่าหินกลุ่มนี้เกิดในช่วง 482-480 ล้านปี (2) หินแคลก์-แอลคาไลน์กาญจนบุรี II ประกอบด้วย หินเถ้าเศษหินแปร หินกลุ่มนี้สามารถจาแนกทางเคมีได้เป็นหินแทรคีแอนดีไซต์ การหาอายุโดยธาตุยูเรเนียม-ตะกั่วบ่งชี้ว่าหินกลุ่มนี้เกิดในช่วง 498-494 ล้านปี หินทั้งสองกลุ่มนี้มีส่วนประกอบทางเคมีคล้ายหินไรโอไลต์ยุคควอเทอร์นารี บริเวณภูเขาไฟทางตอนเหนือของเทือกเขาแอนดีส ประเทศเอกวาดอร์ ที่มีการเกิดแบบขอบทวีปมีพลัง และ (3) หินแคลก์-แอลคาไลน์อุทัยธานี ประกอบด้วย หินเถ้าผลึกภูเขาไฟแปรและหินเถ้าภูเขาไฟเนื้อแก้วแปร หินกลุ่มนี้สามารถจาแนกทางเคมีได้เป็นหินเดไซต์-ไรโอไลต์ การหาอายุโดยธาตุยูเรเนียม-ตะกั่วบ่งชี้ว่าหินกลุ่มนี้เกิดในช่วง 301 ล้านปี หินกลุ่มนี้มีส่วนประกอบทางเคมีคล้ายหินไรโอลิติกอิกนิมไบรต์ยุคไพลโอซีน บริเวณภูเขาไฟทางตอนใต้ของเทือกเขาแอนดีส ประเทศอาร์เจนตินา ที่มีการเกิดแบบขอบทวีปมีพลัง หินตะกอนแปรประกอบด้วยหินควอร์ตไซต์และหินทรายแปร จากข้อมูลทางธรณีเคมีสามารถจาแนกหินตะกอนก่อนแปรสภาพได้เป็นหินอาร์โคส หินซับอาร์โคส หินซับลิทอารีไนต์ และหินควอตซ์-อารีไนต์ หินเหล่านี้สะสมตัวในบริเวณขอบทวีปไม่มีพลัง มีแหล่งกาเนิดตะกอนควอตซ์จากแผ่นเปลือกโลกไซบูมาสุ หินตะกอนแปรมีส่วนประกอบทางเคมีคล้ายค่าเฉลี่ยหินตะกอนออสเตรเลียนยุคก่อนอาร์เคียนและหินตะกอนเปลือกโลกภาคพื้นทวีปตอนบนในปัจจุบัน ซึ่งเกิดแบบขอบทวีปไม่มีพลัง จากการศึกษาในครั้งนี้สรุปได้ว่า การเกิดหินอัคนีแปรกลุ่มหินแคลก์-แอลคาไลน์กาญจนบุรี I และ II (หินเถ้าภูเขาไฟปากแพรก) บริเวณแผ่นเปลือกโลกไซบูมาสุ สัมพันธ์กับการปิดตัวของทะเลโปรโต-เททิสในช่วงยุคแคมเบรียนตอนปลาย-ออร์โดวิเชียนตอนต้น (500-480 ล้านปี) และการเกิดหินอัคนีกลุ่มหินแคลก์-แอลคาไลน์อุทัยธานี บริเวณแนวโค้งสุโขทัย สัมพันธ์กับการปิดตัวของทะเลพาลีโอ-เททิสในช่วงยุคคาร์บอนิเฟอร์รัสตอนปลาย-เพอร์เมียนตอนต้น (300 ล้านปี) ในขณะที่หินตะกอนแปร (หมวดหินบ่อพลอยและบ้านไร่) สะสมตัวระหว่างการขยายตัวของทะเลพาลีโอ-เททิสในช่วงยุคดีโวเนียนตอนกลางen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610535910 สุวิจัย จตุพรฆ้องชัย.pdf11.53 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.