Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73563
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPatnarin Worajittiphon-
dc.contributor.advisorWinita Punyodom-
dc.contributor.authorThakdanai Tunsounden_US
dc.date.accessioned2022-07-08T09:30:45Z-
dc.date.available2022-07-08T09:30:45Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73563-
dc.description.abstractOil contamination in water affects living organisms and the environment. To adsorb oil spills, ethyl cellulose (EC) is a promising polymer for use as oil adsorbent due to its non-toxicity, environmental friendliness, low cost, hydrophobicity, biodegradability, and biocompatibility. In this work, fibrous membranes of EC are prepared by electrospinning with a variation in several parameters to determine an optimal preparation condition of EC membranes. Homogeneously fine EC fibers can be made by using a chloroform:ethanol volume ratio of 60:40, 10% w/v of EC concentration, and 15 kV of applied voltage. Oil adsorption capacity of the EC membranes can be improved by increasing membrane hydrophobicity. This is facilely performed by addition of MoS2 platelets into the EC membranes. Characterizations of the EC and composite membranes by X-ray diffraction, Fourier transform infrared spectroscopy, and dynamic mechanical analysis indicate that the MoS2 does not significantly affect crystalline and chemical structures of the EC. Also, the EC matrix and MoS2 do not show a significant interaction. The MoS2 with a loading content of 3 phr is able to increase water contact angle of the polymer membranes from 127.7° to 138.6°, which is contributable to an increase in adsorption capacity from 17.86 to 27.42 g/g for soybean oil, equivalent to 53.33% enhancement compared with the neat-EC membranes. In the presence of MoS2, electrospun fibers are smaller as shown by scanning electron microscopy result. This may lead to a higher sorption area in the composite membranes for a larger amount of adsorbed oil. In addition, the composite membrane shows its recycling performance in adsorbing soybean oil for at least 5 times, the adsorption capacities of the first 4 cycles are still higher than 50% compared with the initial value. The developed composite membranes based on EC are potential candidates to replace one-time-use adsorbents for use in oil adsorption application.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titlePreparation of composite fibrous membranes based on Ethyl Cellulose with enhance hydrophobicity for oil adsorptionen_US
dc.title.alternativeการเตรียมแผ่นเยื่อเส้นใยคอมโพสิตที่มีเอทิลเซลลูโลสเป็นฐานที่เพิ่มความไม่ชอบน้ำเพื่อการดูดซับน้ำมันen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshOils and fats -- Absorption and adsorption-
thailis.controlvocab.lcshEthyl Cellulose-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการปนเปื้อนของน้ำมันในน้ำส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ในการดูดซับน้ำมันที่รั่วไหลในงานวิจัยนี้ได้ใช้เอทิลเซลลูโลส (EC) เป็นพอลิเมอร์สาหรับใช้เป็นตัวดูดซับน้ำมันเนื่องจากไม่เป็นพิษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ต้นทุนต่ำ มีความไม่ชอบน้ำ ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ และมีความเข้ากันได้ทางชีวภาพ ในงานวิจัยนี้เตรียมแผ่นเยื่อเส้นใยของ EC โดยเทคนิคอิเล็กโทรสปินนิ่งพร้อมทั้งแปรค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมแผ่นเยื่อเส้นใย EC ที่มีขนาดเล็กอย่างสม่าเสมอ ซึ่งสามารถทำได้โดยใช้อัตราส่วนโดยปริมาณของคลอโรฟอร์ม: เอทานอลเป็น 60:40, ความเข้มข้นของ EC เป็น 10% โดยมวลต่อปริมาตร และค่าศักย์ไฟฟ้าเป็น 15 กิโลโวลต์ นอกจากนี้ได้ปรับปรุงความสามารถในการดูดซับน้ำมันของเมมเบรน EC โดยการเพิ่มความไม่ชอบน้ำของเมมเบรนที่ทำได้โดยการใช้เกล็ดโมลิบดินัมไดซัลไซด์ (MoS2) ให้กับแผ่นเยื่อ EC ศึกษาลักษณะเฉพาะของเมมเบรน EC และเมมเบรนคอมโพสิตด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ ฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี และการวิเคราะห์สมบัติเชิงกลแบบพลวัตร ซึ่งทำให้ทราบว่า MoS2 ไม่มีผลต่อโครงสร้างผลึกและโครงสร้างเชิงเคมีของ EC อย่างมีนัยสำคัญ EC และ MoS2 ยังไม่แสดง อัตรกิริยาอย่างชัดเจน นอกจากนี้ MoS2 ปริมาณ 3 ส่วนต่อน้ำหนักเรซินร้อยส่วน (phr) สามารถเพิ่มมุมสัมผัสน้ำของแผ่นเยื่อพอลิเมอร์จาก 127.7° เป็น 138.6° ซึ่งมีส่วนช่วยเพิ่มความสามารถในการดูดซับน้ำมันจาก 17.86 เป็น 27.42 กรัมต่อกรัม สำหรับน้ำมันถั่วเหลือง เทียบเท่ากับความสามารถในการดูดซับน้ำมันที่เพิ่มขึ้น 53.33% เมื่อเทียบกับเมมเบรนของ EC ทั้งนี้เมมเบรนอิเล็กโทรสปันที่ประกอบด้วย MoS2 มีขนาดของเส้นใยเล็กกว่าดังที่แสดงโดยภาพถ่ายจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ซึ่งอาจนำไปสู่พื้นที่ในการดูดซับที่มากขึ้นของแผ่นเยื่อคอมโพสิตในการดูดซับน้ำมัน นอกจากนี้แผ่นเยื่อคอมโพสิตยังแสดงความสามารถในการนำกลับมาใช้ซ้ำสำหรับการดูดซับน้ำมันถั่วเหลืองได้เป็นอย่างน้อย 5 ครั้ง โดยความสามารถในการดูดซับของ 4 รอบแรกยังคงสูงกว่า 50% เมื่อเทียบกับค่าเริ่มต้น ดังนั้นแผ่นเยื่อคอมโพสิตที่พัฒนาขึ้นโดยใช้ EC เป็นองค์ประกอบหลักนี้จึงเป็นตัวเลือกที่มีศักยภาพในการใช้แทนตัวดูดซับแบบใช้ครั้งเดียวสำหรับการดูดซับน้ำมันen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610531065 ทักษ์ดนัย ตันซาว.pdf5.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.