Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73507
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorสรวุฒิ สื่อเศรษฐสิทธ์ิen_US
dc.date.accessioned2022-07-04T15:29:12Z-
dc.date.available2022-07-04T15:29:12Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73507-
dc.description.abstractThe objectives of this research are (1) To study the prevention and mitigation of forest fires and haze operations Relief Troop, 38th Military Circle Territory in the area of Nan Province (2) to study the guidelines for public relations campaign to raise awareness among the public about refraining from burning. (3) to study The way that partnerships are built through in managing forest fires and haze Between Relief Troop, 38th Military Circle with government agencies and people in the area of Nan Province (4) To present guidelines for building cooperation in managing forest fire and haze problems. Between Relief Troop, 38th Military Circle with government agencies and people in the area of Nan Province (5) to present a network of cooperation in managing forest fires and haze problems. Between the Relief Troop, 38th Military Circle with government agencies and people in the area of Nan Province Which is research using qualitative research methodology The researcher has developed the tools used to collect the data. Research interview form The study used was the 38th Military Circle Department, Nan Provincial Natural Resources and Environment Agency. Disaster Mitigation Department, Nan Province and civil society Includes 41 informants. The study found that The 38th Army Corps has arranged for personnel to deal with forest fires and smog in Nan province. With personnel organized to the district level to deal with crisis situations But the personnel still lack the skills, equipment, budget and laws that are not conducive to the operation. Public relations campaign guidelines to create awareness among the people in order to raise awareness of the burning process. Using negotiation and create an informal agreement Cooperation Between government agencies and local residents in managing forest fires and haze are still the official form. Past cooperation approach Between government agencies and local residents in managing forest fires and haze are still the official form. With the government agency as the main agency to deal with the problem by using the single command model. It is the key to solving the problem for a way to build cooperation and a cooperative network model in managing forest fire and haze problems in Nan Province. Chunchon should be the core in dealing with problems in their area. Where the government is a contribution to equipment budget and knowledge to the community by using an informal relationship model to build people's trust and accept a concrete agreement to deal with.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการสร้างความร่วมมือในการจัดการไฟป่าและหมอกควัน ระหว่างกองร้อยบรรเทาสาธารณภัย มณฑลทหารบกที่ 38 กับ หน่วยงานภาครัฐและชุมชน จังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativeGuidelines for building collaborative management in the forest fire and haze among disaster relief, 38th Military Circle with government agencies and communities, Nan provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน -- การควบคุม -- น่าน-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า -- การควบคุมและป้องกัน -- น่าน-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- น่าน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและ หมอกควันของมณฑลทหารบกที่ 38 ในพื้นที่จังหวัดน่าน 2) ศึกษาแนวทางการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการงดการเผา 3) ศึกษาวิธีที่การสร้างความ ร่วมมือที่ผ่านในการจัดการปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ระหว่างมณฑลทหารบกที่ 38 กับหน่วยงาน ราชการและประชาชนในพื้นที่จังหวัดน่าน 4) นำเสนอแนวทางการสร้างความร่วมมือในการจัดการ ปัญหาไฟป่าและหมอกควันระหว่างมณฑลทหารบกที่ 38 กับหน่วยงานราชการและประชาชนใน พื้นที่จังหวัดน่าน 5) นำเสนอเครื่อข่ายความร่วมมือในการจัดการปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ระหว่างมณฑลทหารบกที่ 38 กับหน่วยงานราชการและประชาชนในพื้นที่จังหวัดน่าน ซึ่งเป็น งานวิจัยที่ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้พัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในเก็บข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ งานวิจัยโดยที่ใช้ในการศึกษาประกอบไปด้วย หน่วยงานมณฑลทหารบกที่ 38 หน่วยงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดน่าน หน่วยงานบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดน่าน และภาค ประชาสังคม รวมผู้ให้ข้อมูล 41 คน ผลการศึกษาพบว่า มณฑลทหารบกที่ 38 ได้มีการจัดเตรียมกำลังพลสำหรับการรับมือปัญหาไฟป่าและหมอกควันในพื้นที่จังหวัดน่าน โดยมีการจัดกำลังพลถึงระดับตำบล เพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤต แต่กำลังพลยังคงขาดทักษะ อุปกรณ์ งบประมาณ และข้อกฎหมายที่ไม่อำนวยต่อการปฏิบัติงาน แนวทางการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนเพื่อให้เกิดจิตสำนึก ในการงดการเผาโดยใช้การเจรจาและสร้างข้อตกลงร่วมกันแบบไม่เป็นทางการ แนวทางการร่วมมือ ที่ผ่านมาระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับประชาชนในพื้นที่ในการจัดการปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ยังคงเป็นรูปแบบที่เป็นทางการ โดยมีหน่วยงานของรัฐเป็นหน่วยงานหลักในการจัดการปัญหา โดยใช้ รูปแบบ single command ซึ่งมีผู้ราชการจังหวัดน่านเป็นแก่นหลักในการแก้ปัญหา สำหรับแนวทางการสร้างความร่วมมือและรูปแบบเครื่อข่ายความร่วมมือในการจัดการปัญหาไฟป่าและหมอกควันในพื้นที่จังหวัดน่าน ควรให้ชุนชนเป็นแก่นหลักในการจัดการกับปัญหาในพื้นที่ของตนเอง โดยที่ภาครัฐเป็นส่วนสนับสนุนงบประมาณอุปกรณ์ และองค์ความรู้ให้กับชุมชน โดยใช้รูปแบบความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทางการเพื่อให้ประชาชนเกิดความเชื่อใจและยอมรับข้อตกลงในการจัดการปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.