Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorปาริชาติ อุ่นบ้านen_US
dc.date.accessioned2022-07-02T07:50:16Z-
dc.date.available2022-07-02T07:50:16Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73483-
dc.description.abstractThe study entitled aims to 1) examine the need of public service delivery and the risk that might happen in the Pratratpoogum Subdistrict Municipality 2) study the procedure of risk management implemented by the administrators in the Local Administration and 3) study on the risk management’s outcome implemented by the administrators. This is the qualitative study that data collection was done in the purposive samples including of 3administrators of the Local Administrative Organization, 3 Chiefs of the Office working for Local Administrative Organization, and 4 community headmen. The in-depth interview was done using the semi-structure interview method. The related document was also studied. From the study, the results reveal that First, in terms of public services, the administrators of Local Administrative Organization mostly focused on quality of life and infrastructures respectively. For the Chiefs of the Office, they mostly focused on infrastructure and the quality of life respectively. For the headmen, they mostly focused on investment, environmental resources, cultural arts and infrastructures respectively. The risk management in public services delivery that could happen is the operational risk, the financial risk, and the legal risk on policies, laws, and regulations. Second, the administrators of the Local Administration had applied the risk management. The risks that might happen were specified and evaluated to determine and prioritize. The risk sharing was done to allocate and response the risk. Lastly, the outcomes responding of the risk management in public services delivery led by the administrators are risk reduction, risk sharing, and risk acceptance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการความเสี่ยงในการให้บริการสาธารณะของ เทศบาลตำบลพระธาตุปู่ก่ำ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeRisk management in public services delivery of Pratratpoogum subdistrict municipality, Chiang Dao district, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการบริหารความเสี่ยง-
thailis.controlvocab.thashการบริหารความเสี่ยง -- เชียงดาว (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashบริการสาธารณะ -- เชียงดาว (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความต้องการในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลและประเภทความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น 2. เพื่อศึกษากระบวนการในการจัดการความเสี่ยงของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. เพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการความเสี่ยงของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เลือกแหล่งข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง เป็นผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 คน หัวหน้าส่วนราชการผู้ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 คน และผู้ใหญ่บ้านและผู้นำชุมชนในพื้นที่ 4 คน โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า 1. ความต้องการในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลในมุมมองของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความสำคัญมากที่สุดในการให้บริการสาธารณะคือ ด้านคุณภาพชีวิต และด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ กลุ่มหัวหน้าส่วนราชการผู้ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมองว่าความต้องการในการให้บริการสาธารณะมากที่สุด คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน และด้านคุณภาพชีวิต ตามลำดับ ส่วนกลุ่มผู้ใหญ่บ้านและผู้นำชุมชน คือ ด้านการลงทุนทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และศิลปวัฒนธรรม และด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ โดยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น คือ ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงด้านการเงิน และความเสี่ยงด้านนโยบายกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ 2. ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีกระบวนการในการจัดการความเสี่ยง โดยมีการระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง เพื่อบ่งชี้สถานการณ์และจัดลำดับความสำคัญ ของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และการตอบสนองต่อความเสี่ยงที่เกิดขึ้น 3. ผลที่เกิดขึ้นจากการบริหาร จัดการความเสี่ยงของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดำเนินการเพื่อให้บริการสาธารณะมีรูปแบบการตอบสนองต่อความเสี่ยง 3 รูปแบบ คือ การลด การควบคุมความเสี่ยง (Risk Reduction) การกระจายความเสี่ยง (Risk Sharing) และการยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance)en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932058 ปาริชาติ อุ่นบ้าน.pdf4.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.