Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73481
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorเบญจวรรณ มาทาen_US
dc.date.accessioned2022-07-02T04:39:53Z-
dc.date.available2022-07-02T04:39:53Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73481-
dc.description.abstractThis study aims to 1) study the driving forces that initiate the collaborative governance in solving drought problems, 2) examine the dynamic of collaborative governance in solving drought problems 3) study the result of the collaborative governance in solving drought problems, and 4) study the pathway to successfully develop the collaborative governance in solving drought problems. This is qualitative research collecting data from 12 purposive samples coming from 12 organizations which are responsible for solving drought problem. To collect data, the semi-structured interview and the non-participant observation were done as a research tool. Besides, the related document was also studied. After that, data was analyzed for the conclusion of collaborative governance in solving the drought problem in Lumphun province. The results show that 1) Lamphun province has the collaborative governance in solving drought problems known as the Center of Prevention and Solving Drought Problems under the Provincial Operation Command of Disaster Prevention and Mitigation. Most of the members are the government sections. The driving forces that initiate the collaborative governance are the Disaster Prevention and Mitigation Act B.E. 2550, leadership, uncertainty, and the people’s sufferings. 2) The dynamic of collaborative governance in solving drought problems consists of 2.1) the collaborative works such as meetings, action plans, plans for drought problem and job assignment 2.2) the motivation i.e. roles and responsibilities and the administrative reliabilities and 2.3) the competence of teamwork such as competency and ability of the involved units, the cooperation, and the effective works. 3) Moreover, the result of overall operations in 2020 also show that the related working units could not solved the drought problem due to the unpredictable weather and the legal difficulties. The pathways to successfully develop the collaborative governance in solving drought problems in Lamphun province are revising and updating the regulations and orders, integrating and using single set of information, focusing on area-based methods in solving problems, and encouraging people to basically support themselves. Moreover, the continuing cooperation and support from the involved units should be done not only when the problem happen but also provide all over the year. Lastly, the representatives from civic section as well as the stakeholders should be involved in the working units at the provincial level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการบริหารแบบประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาภัยแล้งในจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeCollaborative governance in solving drought problems in Lamphun provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashภัยแล้ง-
thailis.controlvocab.thashภัยแล้ง -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashภัยแล้ง -- การจัดการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแรงผลักดันที่ทำให้เกิดการบริหารแบบประสาน ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง 2) ศึกษาพลวัตความร่วมมือในการบริหารแบบประสาน ความร่วมมือการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง 3) ศึกษาผลการดำเนินการบริหารแบบประสานความร่วมมือ ในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง และ 4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารแบบประสานความร่วมมือ ในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง การศึกษานี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูล แบบเฉพาะเจาะจง คือ ตัวแทนของหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาภัยแล้ง จำนวน 12 หน่วยงาน ผู้ให้สัมภาษณ์ จำนวน 12 คน ใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้างในการเก็บข้อมูล และการสังเกต แบบไม่มีส่วนร่วม ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อสรุปการบริหารแบบประสานความร่วมมือ ในการแก้ไขปัญหาภัยแล้งในจังหวัดลำพูน ผลการศึกษาพบว่า 1) จังหวัดลำพูนมีการบริหารแบบประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ในรูปแบบของกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน โดยจะจัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ป้องกับและแก้ไขปัญหาภัยแลังจังหวัดลำพูนขึ้นเมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดภัย ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานราชการ แรงผลักดันสำคัญที่ก่อให้เกิดความร่วมมือ คือ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ภาวะผู้นำ ความไม่แน่นอน และปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนร่วมด้วย 2) พลวัตความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ประกอบด้วย 2.1) หลักการทำงานร่วมกัน ได้แก่ การประชุมปรึกษาหารือ การกำหนดแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน การจัดทำแผนเผชิญเหตุภัยแล้ง การมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ เป็นต้น 2.2) แรงจูงใจร่วมกัน ได้แก่ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ และการพึ่งพาทรัพยากรทางการบริหาร และ 2.3) ความสามารถในการทำงานร่วมกัน ได้แก่ ศักยภาพและความรู้ความสามารถของหน่วยงานที่เข้าร่วม การติดต่อประสานงาน การปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิผลร่วมกัน เป็นต้น 3) การแก้ไขปัญหาภัยแล้งในปี 2563 ผลการดำเนินงานยังไม่สามารถขจัดภัยแล้งในพื้นที่ให้หมดไปได้ เพราะมีสภาพอากาศ ระเบียบกฎหมายที่เป็นอุปสรรค และ 4) แนวทางการพัฒนาความร่วมมือ มีการเสนอให้แก้ไขระเบียบกฎหมายที่เป็น อุปสรรคในการดำเนินงาน การบูรณาการข้อมูลระหว่างหน่วยงานให้เป็นข้อมูลเดียวกัน เน้นลงพื้นที่ในการติดตามแก้ปัญหา ส่งเสริมให้ประชาชนเรียนรู้แก้ไขปัญหาและช่วยเหลือตนเองก่อน อีกทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องประสานความร่วมมือกันในการดำเนินการแก้ไขปัญหาภัยแล้งอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี ไม่ใช่เฉพาะช่วงการเกิดภัยและต้องให้ตัวแทนประชาชนเกษตรกร เอกชน หรือผู้มีส่วนได้เสียอื่นที่ไม่ใช่หน่วยภาครัฐเข้ามามีส่วนร่วมกับหน่วยงานในระดับจังหวัดด้วยen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932056 เบญจวรรณ มาทา.pdf6.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.