Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorธนาวุฒิ บัวละวงค์en_US
dc.date.accessioned2022-07-02T04:16:10Z-
dc.date.available2022-07-02T04:16:10Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73480-
dc.description.abstractThe objectives of this research are 1) To survey the level of corporate social responsibility and consciousness in resolution of pollution problems arising from Ceramic industry in Lampang Province. 2) Explore measures to take action toprevention and resolution of pollution problems. 3) To study the guidelines for the development of entrepreneurial consciousness to be social responsibility. and 4) To study ways to develop a cooperative network for prevention and resolution of pollution problems. The research using the qualitative method of research, the research interview was used as a tool for data collection, Key informants are government officials, community leaders, private citizens, and ceramics industry entrepreneurs. Including 45informants. The results of the study showed that 1) Large and medium sized ceramic industry operators, They put great emphasis on social responsibility. Through activities such as hiring local labor Participating in community activities. And still have awareness and awareness The importance of preventing and solving pollution problems from their own businesses. 2) Small ceramic factory Still not paying attention to social responsibility. Because that Operation does not have any effect. And lack of modern technology and capital to modify machinery to produce environmentally friendly. 3) The public sector should develop entrepreneurial consciousness. To have social responsibility Recognize the importance of pollution impacts. And 4) There should be too many informal forms of cooperation networks. In order for all parties to make decisions and make decisions. Find ways to prevent and solve pollution problems from ceramic factories from all sectors. In order for industrial factories to be able to coexist with the community and society sustainably.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมเซรามิก ในจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeGuidelines for prevention and resolution of pollution problems from ceramic industry in Lampang provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashเครื่องเคลือบดินเผา -- ลำปาง -- การผลิต-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมการผลิต -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ-
thailis.controlvocab.thashมลพิษ -- การควบคุม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจระดับความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม และจิตสำนึกในการแก้ไขปัญหามลพิษที่เกิดขึ้น จากการดำเนินกิจการของผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมเซรามิกในจังหวัดลำปาง 2) สำรวจมาตรการในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษ และแนวทางการแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น 3) ศึกษาหาแนวทางการพัฒนาจิตสำนึกของผู้ประกอบกอบการให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมตระหนักถึงความสำคัญกับผลกระทบจากมลพิษ และ 4) ศึกษาหาแนวทางการพัฒนาเครื่อข่ายความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นจากโรงงานอุตสาหกรรมเซรามิก งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้นำชุมชนประชาชน ภาคเอกชน และผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมเซรามิก รวมผู้ให้ข้อมูล จำนวน 45 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดใหญ่และขนาดกลางต่างให้ความสำคัญกับความรับผิดชอบต่อสังคม โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การจ้างแรงงานในพื้นที่การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน งานกฐิน ผ้าป่าสมัคคี งานวันเด็ก มอบทุนการศึกษา เป็นต้น และยังมีความตระหนักและรับรู้ ถึงความสำคัญของการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษจากกิจการของตน 2)โรงงานอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็ก ยังไม่ให้ความสำคัญกับความรับผิดชอบต่อสังคม เนื่องจาก มองว่า การประกอบกิจการไม่ใด้ส่งผลกระทบใดๆ และขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเงินทุนในการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรให้ผลิตเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3) ภาครัฐควรพัฒนาจิตสำนึกของผู้ประกอบการให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมตระหนักถึงความสำคัญกับผลกระทบจากมลพิษ และ 4) ควรมีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในรูปแบบที่ไม่เป็นทางการมากเกินไป เพื่อให้ทุกฝ่ายร่วมคิด ร่วมตัดสินใจหาแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมเซรามิกจากทุกภาคส่วนเพื่อให้โรงงานอุตสาหกรรมอยู่ร่วมกับชุมชน สังคม ได้อย่างยั่งยืนต่อไปen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932055 ธนาวุฒิ บัวละวงค์.pdf4.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.