Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพล ยะมะกะ-
dc.contributor.advisorภารวี มณีจักร-
dc.contributor.authorนันทวุฒิ แหบคงเหล็กen_US
dc.date.accessioned2022-06-28T09:58:48Z-
dc.date.available2022-06-28T09:58:48Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73467-
dc.description.abstractThis study investigated the Value at Risk (VaR) and the Component Expected Shortfall (CES) applying copula model to find an optimal portfolio investment for 15 Asian stock markets. The data is collected from 4 January 2006 to 30 December 2019, and it is then categorized into three pre-crisis periods, crisis, and post-crisis of the global financial crisis in 2008. Empirical results showed that the VaR had increased from 0.0034 to 0.0062 (82.35%) during the crisis period, but it had decreased from 0.0062 to 0.0035 (43.55%) post-crisis. Obviously, the crisis in 2008 influenced the risk of Asia stock markets. According to the portfolio analysis, the result revealed that the Malaysia Stock with the highest proportion pre-crisis, whereas there was zero in investment proportion in Singapore, India, Pakistan, and Turkey Stocks. Malaysian stock was suggested as the highest investment proportion during the crisis period, while there is no investment proportion for Singapore, India, and Pakistan Stocks. Post-crisis, Indonesian Stock was suggested for investment with the highest proportion, whiles Singapore, Turkey, and Russian Stocks is not suggested.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleวิเคราะห์มูลค่าความเสี่ยงและการจัดพอร์ตการลงทุนที่เหมาะสมของตลาดหลักทรัพย์ในเอเชียen_US
dc.title.alternativeValue at risk analysis and investment portfolio optimization of Asian stocksen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์-
thailis.controlvocab.thashการลงทุน-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์การลงทุน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ได้ศึกษาถึงมูลค่าความเสี่ยงและส่วนประกอบค่าความเสียหายที่คาดหวังโดยการประยุกต์ใช้แบบจำลองคอปูลาเพื่อหาพอร์ตการลงทุนที่เหมาะสมที่สุดสำหรับตลาดหลักทรัพย์ในเอเชียทั้ง 15 ตลาดที่สำคัญ โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่ 4 มกราคม 2549 ถึง 30 ธันวาคม 2562 โดยแบ่งช่วงข้อมูลออกเป็นสามช่วงย่อย คือ ก่อนเกิด ระหว่างเกิด และ หลังเกิดวิกฤตการเงิน โลก 2008 ตามลำดับ ผลการศึกษาเชิงประจักษ์พบว่ามูลค่าความเสี่ยงเพิ่มขึ้นจาก 0.0034 เป็น 0.0062 (82.35%) ขณะเกิดวิกฤตการเงินโลก 2008 แต่หลังวิกฤตการเงินโลก 2008 มูลค่าความเสี่ยงลดลงจาก 0.0062 เป็น 0.0035(43.55%) ดังนั้นจะเห็นว่าวิกฤตการเงิน โลก 2008 มีอิทธิพลต่อความเสี่ยงของตลาดหลักทรัพย์เอเชีย และจากการวิเคราะห์ผลของพอร์ตการลงทุนที่เหมาะสมที่สุดในช่วงก่อนเกิดวิกฤแนะนำให้ลงทุนในตลาคหลักทรัพย์มาเลเซีย (PTSE) ในสัดส่วนที่สูงสุด ในขณะที่ตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (ST) ตลาดหลักทรัพย์อินเดีย (BSE) ตลาดหลักทรัพย์ปากีสถาน(KSE) และตลาดหลักทรัพย์ตุรกี (BIST) มีสัดส่วนการลงทุนเป็นศูนย์ ในช่วงระหว่างเกิดวิกฤตแนะนำให้ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์มาเลเซีย (FTSE) ในสัดส่วนที่สูงสุดเช่นเดียวกัน ในขณะที่ตลาดหลักทรัพย์อินเดีย(BSE) ตลาดหลักทรัพย์ คาซัดสถาน(KASE) มีสัดส่วนการลงทุนเป็นศูนย์ และในช่วงหลังเกิดวิกฤตแนะนำให้ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเชีย(]KT) ในสัดส่วนที่สูงสุดในขณะที่ไม่แนะนำให้ลงทุนตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (ST) ตลาดหลักทรัพย์ตุรกี (BIST) และตลาดหลักทรัพย์รัสเซีย (RTS)en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621631005 นันทวุฒิ แหบคงเหล็ก.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.