Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73463
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงศักดิ์ รินชุมภู-
dc.contributor.authorณรรฐพล จันพิชัยโกศลen_US
dc.date.accessioned2022-06-27T10:50:14Z-
dc.date.available2022-06-27T10:50:14Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73463-
dc.description.abstractMost of the buildings of the academic institutes are the ones that were built for a long time without any renovations which causes their energy efficiency of building quite low in value by wasting too much energy and developmental lacking. Moreover, the global warming crisis results in to increase in the use of air-conditioning. Therefore, it is necessary to find any solutions in building renovation. The purpose of this research is to analyze the feasibility of the energy efficiency of academic institution buildings. The planned prototype building is the Graduated Program Building in the Faculty of Engineering. The procedure has been started by a site visit for the construction survey to gain the information of any building changes from the receiving construction plan. After that, the physical model has been created by using the Autodesk Revit Program which aimed to focus on architecture. When the physical model was completed, the energy modeling has been created by using the DesignBuilder Program and input the relevant data which are the façade materials, the electrical equipment, and the date of construction registration. Then, the EnergyPlus Program has been used for the calculation of the energy modeling. The output value has been tuned into the receiving reverse power of the building between the year 2016 and the year of 2018 by the differences must not be more than 10 percent and having another experiment by applying these 4 differences for each experiment as 1) changed the previous bulbs to be the LED T87.5 W/m2 2) changed the previous bulbs to be the LED T8 9.5 W/m2 3) changed the building walls to be the double-wall and 4) installed the Polyurethane Foam (PU Foam) on the walls in order to find the possibility of energy consumption reducing. After that, calculated the costs of every model and compared them to find the energyefficiency per each cost (kWh/Baht). The results are 0.1769 (kWh/Baht), 0.0417 (kWh/Baht), 0.0037 (kWh/Baht), and 0.0034 (kWh/Baht), respectively. After the consideration, the building renovations have found that changing the previous bulbs to the LED T8 9.5 W/m2 is the most feasibility of investment. Therefore, the resulting from this research is a suitable alternative for building renovation as above mentioned. Also, the research can be effectively used as a prototype for an alternative analysis to find any suitable solution as well as has been used for this building renovation as it can support to reduce the building energy consumption, global warming and can encourage to have a long-life development continuously.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานของอาคารของสถานศึกษาen_US
dc.title.alternativeFeasibility analysis in energy efficiency improvement of educational buildingen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- การอนุรักษ์พลังงาน-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- การออกแบบ-
thailis.controlvocab.thashหลอดไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashการส่องสว่างด้วยไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashแสงสว่าง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractอาคารในสถานศึกษานั้นโดยส่วนมากจะเป็นอาคารที่ถูกสร้างมาอย่างเนิ่นนาน และไม่มีการปรับปรุง ส่งผลให้ค่าประสิทธิภาพเชิงพลังงานค่อนข้างต่ำ มีการใช้พลังงานไปอย่างสิ้นเปลือง ขาดการพัฒนา อีกทั้งจากสถานการณ์สภาวะโลกร้อนนั้นส่งผลต่อการใช้เครื่องปรับอากาศที่มากขึ้นไปอีก จึงความจำเป็นที่จะต้องหาแนวทางในการปรับปรุงอาคาร โดยวัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานของอาคารสถานศึกษา อาคารที่จะนำมาเป็นอาคารต้นแบบ คืออาคารบัณฑิดศึกษาภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในส่วนของกระบวนการนั้นเริ่มดันจากการลงพื้นที่จริงเพื่อเก็บข้อมูลของอาคารที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากแบบก่อสร้างที่ได้รับมา จากนั้นทำการสร้างแบบจำลองเชิงกายภาพของอาคารออกมา โดยมุ่งไปที่งานในส่วนของสถาปัตยกรรมโดยใช้โปรแกรม Autodesk Revit หลังจากได้แบบจำลองกายภาพแล้วได้ทำการสร้างแบบจำลองพลังงานด้วยโปรแกรม DesignBuilder และทำการใส่ข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอาคารเข้าไป เริ่มตั้งแต่วัสดุผิวรอบอาคาร อุปกรณ์ไฟฟ้ต่างๆ กำหนดการใช้อาคารและทำการจำลองสถานการณ์ด้วยโปรแกรม EnergyPlus ที่ได้ออกมาจะทำการปรับจูนกับค่าพลังงานย้อนหลังของอาคารที่ได้รับมา คือปี พ.ศ. 2359 ถึง ปี พ.ศ. 2561 ให้มีความแตกต่างไม่เกินร้อยละ 10 และทำการทดลองโดยการปรับเปลี่ยนอาคารใน 4 ทางเลือก คือ 1) เปลี่ยนหลอดไฟจากเดิมเป็นหลอดไฟ LED T8 7.5 Wm 2) เปลี่ยนหลอดไฟจากเดิมเป็นหลอดไฟ LED T8 9.5 W/m2 3) เปลี่ยนผนังเป็นผนังสองชั้น และ 4) ติดตั้งฉนวนกันความร้อนพียู (Polyurethane Foam: PU) ที่ผนัง เพื่อหาแนวทางที่มีความเป็นไปได้ในการลดค่าพลังงาน จากนั้นทำการคิดต้นทุนของทุกทางเลือก และนำมาเปรียบเทียบได้ค่าประสิทธิภาพการลดพลังงานต่อต้นทุน (kW/บาท) โดยได้ผลลัพธ์คือ 0.1769 (kWh/Bathบาท) 0.041 7 (kWh/บาท) 0.0037 (kWh/บาท) และ 0.0034 (kWh/Bathบาท) ตามลำดับ ดังนั้นเมื่อพิจารณาจากค่าสัดส่วนการลดพลังงานต่อต้นทุนของการปรับปรุงอาคาร พบว่าการเปลี่ยนหลอดไฟจากเดิมเป็นหลอดไฟ LED T8 9.5 W.m' เป็นแนวทางที่มีความเป็นไปได้ในการลงทุนมากที่สุด ทั้งนี้นอกจากแนวทางเลือกที่เหมาะสมในการเลือกปรับปรุงอาคารดังกล่าวข้างต้นแล้ว กระบวนการศึกษาในครั้งนี้ยังสามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบในการวิเคราะห์หาทางเลือกที่เหมาะสมเช่นนี้กับอาคารอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพได้อีกทางหนึ่งด้วย ซึ่งสนับสนุนให้เกิดกระบวนการลดการใช้พลังงานของอาคาร ลดภาวะโลกร้อน และสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631146 ณรรฐพล จันพิชัยโกศล.pdf13.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.