Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPradya Somboon-
dc.contributor.advisorAnuluck Junkum-
dc.contributor.advisorAtiporn Saeung-
dc.contributor.authorParinya Wilaien_US
dc.date.accessioned2022-03-23T07:13:50Z-
dc.date.available2022-03-23T07:13:50Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72219-
dc.description.abstractA multiplex PCR assay based on mitochondrial cytochrome c oxidase subunit I (COI) sequences was developed for identification of five members of the Barbirostris Complex which occur in Thailand: Anopheles barbirostris s.s., An. dissidens, An. saeungae, An. wejchoochotei and An. barbirostris species A3. Anopheles campestris was not included in the assay due to the lack of unequivocal sequences. Allele-specific primers were designed for specific nucleotide segments of COI sequences of each species. Mismatch method and addition of long GC tail were applied for some primers. The assay provided products of 706 bp for An. barbirostris s.s., 238 bp for An. dissidens, 611 bp for An. saeungae, 502 bp for An. wejchoochotei and 365 bp for An. barbirostris A3. The assay was tested using 111 wild-caught female mosquitoes from Bhutan, Cambodia, Indonesia (Sulawesi) and Thailand. The results of the multiplex PCR were in complete agreement with COI sequencing; however, one of three specimens from Bhutan and all 11 specimens from Indonesia were not amplifiable by the assay due to their distinct COI sequences. This, together with the distinct rDNA sequences of these specimens, suggests the presence of at least two additional new species in the Barbirostris Complex. The Anopheles subpictus complex consists of four species informally designated, based on fixed inversions of polytene chromosomes and morphology, as species A, B, C and D in India. However, recent studies revealed the presence of only species A and B in Sri Lanka. Little is known about the specific identity of the taxon in other countries in Asia. This paper reports the results of a molecular and morphological study of An. subpictus in Thailand and South Sulawesi, Indonesia. The maxillary palpi of most females from Thailand have the apical pale band longer than the subapical dark band, seta 7-I of pupae branched and short, and eggs with 18-25 float ridges. These characters do not agree with those described for species A, B, C and D in India. The females of An. subpictus from South Sulawesi usually have the subapical dark band of the maxillary palpus equal in length to the apical pale band. Phylogenetic analyses of sequences of the internal transcribed spacer 2 (ITS2) region of rDNA and the cytochrome c oxidase subunit I (COI) gene of mtDNA of specimens from Thailand, and South Sulawesi, and from various localities in GenBank, were conducted. ITS2 sequences of specimens from all localities in Thailand were identical, except for a small divergence in specimen from Phang Nga Province. Three distinct COI clades were detected in specimens from Chiang Mai Province in northern Thailand. However, crossing experiments between the three clades revealed no genetic incompatibility, suggesting that they were conspecific. ITS2 and COI sequences of most specimens from Thailand fell in clades other than those of An. subpictus species A and B and An. subpictus from Indonesia (East Nusa Tenggara, Java, South Sulawesi) and the Philippines. ITS2 sequences from South Sulawesi and East Nusa Tenggara were very similar, and fell in a clade consisting of specimen from Phang Nga in southern Thailand and sequences of some specimens from Cambodia and Vietnam, but their COI sequences were distinct. DNA sequences and morphological differences suggest the presence of two species within An. subpictus in Thailand, and more than one species in Indonesia. Since, COI gene of An. subpictus from Thailand are divided into 3 groups (Clades). The multiplex PCR assay based on COI sequences was developed for identification of this Subpictus Complex. The Allele-specific primers were designed for identification of each species. The assay provided products of 630 bp, 359 bp and 187 bp for An. subpictus group 1 (Clade C), 2 (Clade D) and 3 (Clade E) respectively. This method is simple, fast and cheap compared with DNA sequencing. Further study, this method should be verified with more samples.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectMultiplex PCRen_US
dc.titleDevelopment of Multiplex PCR Method for Identification of Mosquitoes in the Barbirostris and Subpictus Complexes in Thailanden_US
dc.title.alternativeการพัฒนาวิธี Multiplex PCR เพื่อการจำแนกชนิดยุงในกลุ่ม Barbirostris และ Subpictus Complexes ในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.othersMultiplex PCR-
thailis.controlvocab.thashยุงก้นปล่อง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิธี multiplex PCR ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาในการศึกษาครั้งนี้เพื่อใช้จำแนกชนิดยุงก้นปล่องใน กลุ่ม Barbirostris Complex ในประเทศไทย โดยใช้ลาดับดีเอ็นเอของ mitochondrial cytochrome c oxidase subunit I (COI) ในการออกแบบ primer ซึ่งสามารถจา แนกยุงได้จำนวน 5 ชนิด ประกอบด้วย Anopheles barbirostris s.s., An. dissidens, An. saeungae, An. wejchoochotei และ An. barbirostris สปี ชีส์ A3 ยกเว้น An. campestris เนื่องจากไม่มีลา ดับดีเอ็นเออยู่ใู่นฐานข้อมูล โดยการออกแบบ primer ที่ จำเพาะต่อลาดับดีเอ็นเอของยีน COI ได้ถูกออกแบบให้จำเพาะต่อยุงแต่ละชนิด และใช้เทคนิค Mismatch และเพิ่ม GC สายยาวใน primer ที่ออกแบบบางเส้น วิธีนี้ให้ขนาดผลิตภัณฑ์ที่ได้ของยุง An. barbirostris s.s., An. saeungae, An. wejchoochotei, An. barbirostris A3 และ An. dissidens มีขนาด 706 bp, 611 bp, 502 bp, 365 bp และ 238 bp ตามลา ดับ ในการศึกษานี้ใช้ตัวอย่างยุงจากภาคสนาม ที่ เก็บมาจากประเทศภูฏาน ประเทศกัมพูชา เกาะสุลาเวสี ประเทศอินโดนีเซีย และ ประเทศไทย จา นวน ทั้งสิ้น 111 ตัว มาทดสอบประสิทธิภาพของ multiplex PCR โดยเทียบกับผลจากการทา DNA sequencing ผลปรากฏว่า ผลที่ได้จากวิธี multiplex PCR ตรงกับผลของวิธี DNA sequencing ทั้งหมด และยังให้ผลที่ถูกต้องแม่นยา อย่างไรก็ตาม พบว่าผลจากวิธี multiplex PCR ไม่สามารถใช้ได้กับยุงที่ ได้มาจากประเทศภูฏาน จา นวน 1 ตัว จากทั้งหมด 3 ตวั และยุงที่ได้มาจากประเทศอินโดนีเซียทั้งหมด 11 ตัว เนื่องจากยุงกลุ่มดังกล่าวมีลา ดับดีเอ็นเอของยีน COI และไรโบโซมอลดีเอ็นเอที่แตกต่างกัน จึง คาดว่าอาจจะมียุงชนิดใหม่ในกลุ่ม Barbirostris Complex เพิ่มเติมอย่างน้อยสองชนิด ยุงก้นปล่องในกลุ่ม Anopheles subpictus complex ถูกพบเป็นครั้งแรกในประเทศอินเดีย ถูก แบ่งเป็น 4 สปีชีส์ ประกอบด้วยสปีชีส์ A, B, C และ D โดยใช้ ลักษณะ inversions ของ polytene chromosomes และลักษณะทางสัณฐานวิทยาในการจาแนก อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาล่าสุดพบยุง เพียงสองชนิด คือ ชนิด A และ ชนิด B ในประเทศศรีลังกา ความรู้เกี่ยวกับการจา แนกชนิดของยุงกลุ่ม An. subpictus ในประเทศต่างๆในทวีปเอเชียยังมีน้อยมาก การศึกษานี้ได้ทา การรายงานการวิเคราะห์ ระดับโมเลกุลและลักษณะทางสัณฐานวิทยาของยุง An. subpictus ในประเทศไทย และ ยุงจากจังหวัด สุลาเวสีใต้ ประเทศอินโดนีเซีย โดยลักษณะทางสัณฐานวิทยาในยุงตัวเมียส่วนใหญ่จากประเทศไทย พบว่า maxillary palpi มีขนาดของ apical pale band ที่ยาวกว่า subapical dark band ลักษณะของลูกน้า พบว่าขน seta 7-I มีลักษณะที่แตกแขนงและสั้น และลักษณะของไข่จะพบ float ridges จา นวน 18-25 ลอน ซึ่งลักษณะดังกล่าวไม่สอดคล้องกับลักษณะของ An. subpictus สปี ชีส์ A, B, C และ D ที่ได้รับ การรายงานจากประเทศอินเดียมาก่อนหน้านี้ ในขณะที่ยุงที่มาจากจังหวัดสุลาเวสีใต้ พบว่า maxillary palpi มีขนาดของ apical pale band เท่ากับ subapical dark band จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทาง วิวัฒนาการโดยใช้ลา ดับดีเอ็นเอบริเวณตา แหน่ง internal transcribed spacer 2 (ITS2) ในไรโบโซมอล ดีเอ็นเอ และตา แหน่ง cytochrome c oxidase subunit I (COI) ในไมโตรคอนเดรียดีเอ็นเอ มาวิเคราะห์ ตัวอย่างยุงจากประเทศไทย ยุงจากจังหวัดสุลาเวสีใต้ ประเทศอินโดนีเซีย และยุงจากหลากหลายพื้นที่ ในฐานข้อมูล GenBank พบว่าลา ดับดีเอ็นเอที่ตา แหน่ง ITS2 จากตัวอย่างยุงจากประเทศไทยมีลักษณะ เหมือนกันหมด ยกเว้นตัวอย่างยุงจากจังหวัดพังงา และผลจากการวิเคราะห์ลา ดับดีเอ็นเอของยีน COI สามารถแบ่งแยกยุงจากจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย ออกเป็น 3 กลุ่ม แต่อย่างไรก็ตามผลจาก crossing experiments ระหว่างยุง 3 กลุ่ม แสดงให้เห็นว่าไม่มี genetic incompatibility แสดงว่ายุงกลุ่ม ดังกล่าวเป็นสปี ชีส์ เดียวกัน ผลจากการวิเคราะห์ลา ดับดีเอ็นเอที่ตา แหน่ง ITS2 และ COI จากตัวอย่าง ยุงส่วนใหญ่ที่มาจากประเทศไทยแสดงให้เห็นว่ายุงกลุ่มดังกล่าวอยู่ต่างจากกลุ่มยุงสปีชีส์ A และ B กลุ่มยุงที่มาจากประเทศอินโดนีเซีย เช่น จังหวัดนุสาเตงการาตะวันออก เกาะชวา และจังหวัดสุลาเวสี ใต้ เป็นต้น และกลุ่มยุงที่มาจากประเทศฟิ ลิปปินส์ โดยกลุ่มยุงจากจังหวัดนุสาเตงการาตะวันออกและ จังหวัดสุลาเวสีใต้ มีผลการวิเคราะห์ของลา ดับดีเอ็นเอที่ตา แหน่ง ITS2 ที่เหมือนกันมาก และพบว่ายุง กลุ่มดังกล่าวอยใู่ นกลุ่มเดียวกับยุงที่มาจากจังหวัดพังงา และยุงบางตัวอย่างที่มาจากประเทศกัมพูชา และประเทศเวียดนาม แต่ผลการวิเคราะห์ของยีน COI พบว่ายุงดังกล่าวแยกออกเป็นคนละกลุ่ม จาก ผลการศึกษาของการวิเคราะห์ลา ดับดีเอ็นเอและลักษณะทางสัณฐานวิทยาคาดว่าจะพบยุงชนิดใหม่ อย่างน้อย 2 ชนิดจากประเทศไทยและยุงจากประเทศอินโดนีเซียอย่างน้อย 1 ชนิด เนื่องจากผลการวิเคราะห์ของลา ดับ COI สามารถแบ่งยุงจากประเทศไทยได้ 3 กลุ่ม ดังนั้นใน การศึกษานี้จึงได้ทา การพัฒนาวิธี multiplex PCR เพื่อใช้จา แนกยุงชนิดดังกล่าวโดยใช้ลา ดับดีเอ็นเอ ของยีน COI ในการออกแบบ primer ที่จาเพาะต่อยุงแต่ละชนิด โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้ของยุง An. subpictus กลุ่ม 1 (Clade C) กลุ่ม 2 (Clade D) และ กลุ่ม 3 (Clade E) มีขนาด 630 bp, 359 bp และ 187 bp ตามลา ดับ วิธีนี้แสดงให้เห็นว่าวิธีนี้มีความง่าย รวดเร็ว และราคาถูกเมื่อเทียบกับการทา DNA sequencing และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความถูกต้องของวิธีนี้ให้มากยิ่งขึ้น ในการศึกษาต่อไปจึง ต้องเพิ่มจา นวนตัวอย่างในการทดสอบให้มากขึ้นen_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580751010 ปรินทร์ญา วิไล.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.