Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72218
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPradya Somboon-
dc.contributor.advisorAnuluck Junkum-
dc.contributor.advisorAtiporn Saeung-
dc.contributor.authorThanari Phanitchakunen_US
dc.contributor.authorธนารีย์ พานิชกุลen_US
dc.date.accessioned2022-03-11T09:07:59Z-
dc.date.available2022-03-11T09:07:59Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72218-
dc.description.abstractCulex (Culiciomyia) spiculothorax was first described from larval stage on Doi Inthanon, Chiang Mai, Thailand based on the presence of spiculation on the thorax of larvae. Adult females are characterized but are indistinguishable from those of related species, such as Cx. pallidothorax. Phylogenetic analysis of mitochondrial cytochrome c oxidase subunit I (COI) sequences revealed that specimens identified as Cx. spiculothorax from Thailand, Japan and Bhutan form a single clade with Cx. sasai from Japan (Kimura 2-parameter genetic distances 0–0.9%) that is clearly distinct from clades comprised of other species of subgenus Culiciomyia. In this study, attempts to collect Cx. sasai from several locations in Japan were unsuccessful – only larvae with thoracic vesicular-like spicules identified as Cx. spiculothorax were collected. Careful examination of specimens collected near the type locality of Cx. sasai revealed the presence of spicules on the thorax. Based on these findings, Cx. spiculothorax is formally synonymized with Cx. sasai, which replaces the former as the species present in Thailand and is a new country record for Bhutan. We found a species of Lutzia Theobald (1903) (Diptera: Culicidae) in Chiang Mai Province and other provinces in northern Thailand which bears morphological differences from the three species of Lutzia, subgenus Metalutzia Tanaka, previously recorded from Thailand, namely Lt. fuscana (Wiedemann), Lt. halifaxii (Theobald) and Lt. vorax Edwards. The adults of the Chiang Mai form (CM form) have abdominal banding patterns similar to those of Lt. vorax from Japan (which includes the type locality of this species), but differ in having the mediocubital crossvein usually positioned before rather than beyond the radiomedial crossvein. The thoracic and abdominal integument of Lt. vorax larvae is covered with relatively short pointed spicules whereas it is covered by denser, longer and more acutely pointed spicules in the CM form. Some differences are also found in the development of thoracic seta 1-M, and abdominal setae 8-II and 8-III. The pupa of the CM form clearly differs from the pupa of Lt. vorax in having setae 1 and 5 of abdominal segments V and VI branched rather than single. The characters of the wing of mosquito, larva and pupa of the CM form are similar to those of Lt. fuscana and Lt. halifaxii. However, whereas the phallosome of males of the CM form is similar to males of Lt. vorax and Lt. halifaxii, it is distinct from males of Lt. fuscana. Phylogenetic analysis of mitochondrial cytochrome c oxidase subunits I and II (COI and COII) and D3 expansion segment (D3) of the 28S ribosomal RNA sequences revealed that the CM form falls outside a clade comprised of specimens of Lt. vorax from Japan, Korea, Thailand and Bhutan (Kimura 2-parameter, K2P, genetic distances of COI, COII and D3 3.9–5.6, 5.1–6.6, and 1.2%, respectively). However, the two mitochondrial gene sequences of the CM form are not clearly distinct from clades comprised of sequences from specimens of Lt. fuscana and Lt. halifaxii (K2P 0.2–2.4%). From D3 sequences, the CM form and Lt. fuscana form a single clade and their sequences are identical. However, based on the combination of morphological and molecular data, the current study provides evidence that the CM form is a previously unrecognized species of the genus Lutzia.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectยุงen_US
dc.subjectอนุกรมวิธานen_US
dc.subjectCulex spiculothoraxen_US
dc.titleTaxonomy and Molecular Genetics of Culex spiculothorax and Lutzia species (Diptera: Culicidae) Mosquitoesen_US
dc.title.alternativeอนุกรมวิธานและอณูพันธุศาสตร์ของยุง Culex spiculothorax และ Lutzia species (Diptera: Culicidae)en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractยุง Culex spiculothorax Bram อยู่ในสกุลย่อย Culiciomyia ถูกพบครั้งแรกจากระยะลูกน้ำบน ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย มีลักษณะเด่นตรงที่มีหนามบริเวณส่วนอกในระยะ ลูกน้ำ มีการบรรยายลักษณะของยุงเพศเมียไว้ แต่ไม่สามารถแยกออกจากยุงที่มีความใกล้ชิดกันได้ เช่น ยุง Cx. pallidothorax การวิเคราะห์ทางวิวัฒนาการของลำดับเบสของยีนไมโทคอนเดรีย cytochrome c oxidase subunit I (COI) พบว่า ตัวอย่างที่ถูกระบุว่าเป็ นยุง Cx. spiculothorax จาก ประเทศไทย ญี่ปุ่น และภูฏาน อยู่ในกลุ่มเดียวกันกับยุง Cx. sasai จากประเทศญี่ปุ่น โดยมีค่าระยะห่าง ทางพันธุกรรม 0-0.9 % และแตกต่างอย่างชัดเจนจากกลุ่มที่ประกอบด้วยยุงชนิดอื่นในสกุลย่อย Culiciomyia ในการศึกษานี้ไดทำการเก็บยุง Cx. sasai จากหลายสถานที่ในประเทศญี่ปุ่นแต่ไม่ประสบ ความสำเร็จ พบเพียงลูกน้ำที่มีหนามลักษณะคล้ายถุงบริเวณส่วนอกที่ถูกระบุว่าเป็นยุง Cx. spiculothorax เท่านั้นการตรวจสอบตัวอย่างลูกน้ำที่เก็บจากสถานที่ใกล้เคียงกับที่มีการค้นพบยงุ Cx. sasai เป็นครั้งแรกด้วยความระมัดระวังเผยให้เห็นว่ามีการพบหนามบริเวณส่วนนอกจากการค้นพบ เหล่านี้ยุง Cx. spiculothorax เป็นยุงชนิดเดียวกันกับยุง Cx. sasai ซึ่งมาแทนที่ยุงที่ถูกระบุว่าเป็น Cx. spiculothorax ชนิดเดิมในประเทศไทย และเป็นการค้นพบยุงชนิดนี้เป็นครั้งแรกในประเทศภูฏาน เราพบว่ายุง Lutzia Theobald (1903) (Diptera: Culicidae) ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดอื่นใน ภาคเหนือของประเทศไทยมีความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาจากยุง Lutzia ทั้ง 3 ชนิด ที่อยู่ในสกุลย่อย Metalutzia Tanaka ซึ่งได้เคยรายงานไว้จากประเทศไทย ได้แก่ ยุง Lt. fuscana ( Wiedemann) ยุง Lt. halifaxii (Theobald) และยุง Lt. vorax Edwards ตัวเต็มวัยของยุงรูปแบบเชียงใหม่ (รูปแบบ CM) มี รูปแบบของแถบที่ท้องคล้ายกับยงุ Lt. vorax จากประเทศญี่ปุ่น (รวมไปถึงสถานที่ที่พบยุงชนิดนี้เป็น ครั้งแรก) แต่จะแตกต่างกันตรงที่เส้น mediocubital crossvein มักจะอยู่ในตำแหน่งก่อนแทนที่จะอยู่ หลังเส้น radiomedial crossvein ผิวบริเวณอกและท้องของลูกน้ำยุง Lt. vorax ถูกปกคลุมด้วยหนาม แหลมและสั้น ในขณะที่ยุงรูปแบบ CM ถูกปกคลุมด้วยหนามที่หนาแน่นซึ่งยาวและแหลมมากกว่า นอกจากนี้ยังพบความแตกต่างบางประการของขน seta 1-M บริเวณอกและขน setae 8-II และ 8-III บริเวณท้องระยะตัวโม่งของยงุ รูปแบบ CM แตกต่างจากตัวโม่งของยุง Lt. vorax อย่างชัดเจน โดยขน setae 1 และ 5 ของปลอ้งท้องที่ V และ VI มีการแตกแขนงมากกว่าที่จะเป็นเส้นเดี่ยว ๆ ลักษณะปีกของยุง, ระยะลูกน้ำ และระยะตัวโม่งของยุงรูปแบบ CM มีลักษณะคล้ายกับยุง Lt. fuscana และยุง Lt. halifaxii อย่างไรก็ตาม phallosome ของตัวเต็มวัยเพศผู้ของยุงรูปแบบ CM นั้นคล้ายกับตัวผู้ของ Lt. vorax และ Lt. halifaxii แต่แตกต่างจากตัวผู้ของ Lt. fuscana การวิเคราะห์ทางวิวัฒนาการของลำดับ เบสของยีนไมโทคอนเดรีย cytochrome c oxidase subunits I และ II (COI และ COII) และ D3 expansion segment (D3) ของ 28 เอส ไรโบโซมอล อาร์เอ็นเอ พบว่ายุงรูปแบบ CM อยู่คนละกลุ่มกับกลุ่มที่ประกอบด้วยยุง Lt. vorax จากประเทศญี่ ปุ่น เกาหลี ไทยและภูฏาน (โดยมีค่าระยะห่างทาง พันธุกรรมของยีน COI, COII และ D3 3.9–5.6, 5.1-6.6 และ 1.2% ตามลำดับ) อย่างไรก็ตาม ลำดับ เบสของยีนไมโทคอนเดรียทั้งสองยีนของยุงรูปแบบ CM นั้น ไม่มีความแตกต่างอย่างชัดเจนจากยุงใน กลุ่มที่ประกอบด้วยยุง Lt. fuscana และ Lt. halifaxii (ค่าระยะห่างทางพนั ธุกรรม 0.2-2.4%) จากผล ลาํ ดับเบสของยีน D3 พบว่ายุงรูปแบบ CM และยุง Lt. fuscana อยู่ในกลุ่มเดียวกันและมีลำดับเบสที่ เหมือนกัน อย่างไรก็ตาม การอาศัยการรวมกันของข้อมูลทางด้านสัณฐานวิทยาและข้อมูลทางโมเลกุล ทำให้การศึกษานี้แสดงหลักฐานว่า ยุงรูปแบบ CM น่าจะเป็นยุง Lutzia ชนิดใหม่en_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580751009 ธนารีย์ พานิชกุล.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.