Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorCharin Mangkhang-
dc.contributor.advisorJarunee Dibyamandal-
dc.contributor.advisorNatcha Kamol-
dc.contributor.authorSeksun Thaothummaen_US
dc.contributor.authorเสกสรร ท้าวทุมมาen_US
dc.date.accessioned2022-03-11T07:39:51Z-
dc.date.available2022-03-11T07:39:51Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72212-
dc.description.abstractThis research is Mass design of new learning experiences of social studies teachers in secondary schools the objectives are to 1) Synthesize a learning management model for social studies. In Thai schools from the course of 1960 to the present2) To design masses of new learning experiences for social studies teachers 3) to study the value of new mass learning experiences Social studies Using the process of research and development (Research and Development) It is divided into 4 phases as follows: Phase 1: Social Studies Learning Management Model Synthesis In Thai schools from the course of 1960 to the present, Phase 2 to design a new kind of learning experience Of social studies teachers in secondary school phase 3 to develop a new model of mass learning experience of social studies teachers in secondary schools phase 4 to test the mass model of new learning experiences of social studies teachers in secondary schools The research results were found that: 1. The results of the synthesis of social studies learning management models In Thai schools from the course of 1960 to the present, the social studies learning management guidelines In Thai schools from the course 1960 to the present in order to design a new mass learning experience Found the course to be a good course Able to set the learners to meet the standard But in the field of course aims In terms of promoting physical health, mental health, health habits and love of exercise. Cannot be adapted to be applied in the teaching and learning process of the 5 subjects of the social studies, religion and culture groups Therefore, in terms of the course itself, it should be adjusted so that the content can be flexible and applied to be more clearly relevant to each issue. The need to provide learning based on 21st Century Learning Skills (3R8C) can prioritize learner needs and why they need it. Are as follows: No. 1 to study according to their own needs or according to their own aptitude Second inferior to develop analytical thinking skills Think creatively And fix problems Next level 3 has communication skills. Using technology and media awareness 2. The result of mass design, new learning experience. Get the mass of SOCIAL experience, results of application, improve the quality of social studies teachers in secondary schools to organize learning activities in a systematic and directed way and to help learners reach a variety of activities well. And help achieve the goals of the core curriculum of basic education Will lead to sustainable development of teachers in social studies 3. Releasing new learning experiences, TPACKA format consists of 1) organizing learning activities 2) classroom conditions 3) media used in learning and measurement and evaluation 4) spatial learning management. That affect learning in the social studies, religion and culture as a whole It was found that junior high school students were found to meet the needs of 21st century students. Which affects the learning of all 4 aspects, the most was the learning activities, followed by the classroom condition. And the least is the evaluation of the resulten_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเรียนรู้แนวใหม่en_US
dc.subjectครูสังคมศึกษาen_US
dc.subjectDesign of Advanced Learning Experienceen_US
dc.titleThe Design of Advanced Learning Experience of Social Studies Teachers in Secondary Schoolsen_US
dc.title.alternativeการออกแบบมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้เป็น การออกแบบมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ในโรงเรียนไทยตั้งแต่หลักสูตร พ.ศ. 2503 ถึงปัจจุบัน 2) เพื่อออกแบบมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ของครูสังคมศึกษา 3) เพื่อศึกษาคุณค่าของมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ ทางสังคมศึกษา โดยใช้กระบวนการของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยแบ่งเป็น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ในโรงเรียนไทยตั้งแต่หลักสูตร พ.ศ.2503 ถึงปัจจุบัน ระยะที่ 2 เพื่อออกแบบมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ ของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา ระยะที่ 3 เพื่อพัฒนารูปแบบมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา ระยะที่ 4 เพื่อทดสอบรูปแบบมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ของครูสังคมศึกษาในโรงมัธยมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ในโรงเรียนไทยตั้งแต่หลักสูตร พ.ศ. 2503 ถึงปัจจุบัน ได้แนวทาง การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ในโรงเรียนไทยตั้งแต่หลักสูตร พ.ศ.2503 ถึงปัจจุบัน เพื่อนาไปออกแบบมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ พบว่า หลักสูตรเป็นหลักสูตรที่ดี สามารถกาหนดผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานได้ แต่ในด้านของจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ในส่วนของเรื่องการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขนิสัย และรักในการออกกาลังกาย ไม่สามารถนามาปรับใช้ในกระบวนการเรียนการสอนของกลุ่มสาระทั้ง 5 ของกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมได้ ดังนั้นในด้านของตัวหลักสูตรควรมีการปรับเปลี่ยนให้เนื้อหาสามารถยืดหยุ่นและประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับแต่ละประเด็นได้ชัดเจนให้มากขึ้น ความต้องการให้จัดการเรียนรู้โดยพิจารณาจากทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21(3R8C) สามารถจัดลาดับความต้องการของผู้เรียนและเหตุผลที่ผู้เรียนต้องการ ได้ดังนี้ ลาดับที่1 เพื่อศึกษาค้นคว้าตามความต้องการของตัวเองหรือตามความถนัดของตนเอง รองลงมาลาดับที่2 เพื่อเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ และแก้ไขปัญหาได้ ต่อมาลาดับที่ 3 มีทักษะในการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีและรู้เท่าทันสื่อ 2. ผลการออกแบบมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ ได้มวลประสบการณ์ SOCIAL ผลการนาไปใช้ได้พัฒนาคุณภาพครูผู้สอนสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา ให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเป็นระบบ และมีทิศทาง และช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงความหลากหลายของกิจกรรมได้ดี และช่วยให้บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะนามาซึ่งการพัฒนาครูผู้สอนสังคมศึกษาอย่างยั่งยืนได้ 3. การออกมวลประสบการณ์การเรียนรู้แนวใหม่ได้รูปแบบ TPACKA ประกอบไปด้วย 1) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2) ด้านสภาพห้องเรียน 3) ด้านสื่อที่ใช้ในการเรียนรู้ และด้านการวัดและประเมินผล 4) ด้านการจัดการเรียนรู้เชิงพื้นที่ ที่มีผลต่อการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยภาพรวม พบว่านักเรียนระดับมัธยมศึกษาต้อนต้นมีระดับความต้องการของนักเรียนในศตวรรษที่21 ที่มีผลต่อการเรียนรู้ทั้ง 4 ด้าน ส่วนใหญ่เป็นด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มากที่สุด รองลงมาเป็นด้านสภาพห้องเรียน และน้อยที่สุดเป็นด้านการวัดผลประเมินผลen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580251012 เสกสรร ท้าวทุมมา.pdf856.58 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.