Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorMujalin Prasannarong-
dc.contributor.advisorKittipan Rerkasem-
dc.contributor.advisorTanop Srisuwan-
dc.contributor.authorSothida Nantakoolen_US
dc.date.accessioned2021-12-13T04:31:53Z-
dc.date.available2021-12-13T04:31:53Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72174-
dc.description.abstractArteriovenous fistula (AVF) failure has been recognized as a critical problem in chronic kidney disease patients (CKD) with hemodialysis. Arm exercise training before and after surgery is recommended to reduce the AVF failure and promote AVF maturity. However, there has been inconclusive evidence on benefits of such arm exercise programs. The first part of this study aimed to investigate effectiveness of post-operative isometric hand exercise training on AVF maturation in CKD patients. The CKD patients were randomly allocated into isometric-hand exercise training (ISM) or isotonic-hand exercise training (IST) (25 per group). Each patient performed daily exercise at 30% of maximum voluntary contraction (MVC) for 10 weeks. Outcomes included vein and artery diameters, vein and artery blood flows, ultrasound and clinical maturations, and ultrasound and clinical maturation times. The outcomes were assessed at week 0 (the day of surgery), week 2, 6, and 10 of exercise, The results illustrated that the ISM group had significantly greater in the vein diameter and vein blood flow at week 6 and 10, and significantly higher number of AVF maturation since week 2 than the IST group. The second part of this study aimed to systematically reviewed and quantified the effectiveness of arm exercise training prior to and after AVF operation on AVF maturation in CKD patients. Scopus, CINAHL, PubMed, Science Direct, and Cochrane Library were searched, using keywords involving CKD, AVF maturation, vascular function, and exercise. The results found that arm exercise training increased vessel diameters and grip strength before surgery. According to meta-analysis of effectiveness of post-operative exercise training, the results demonstrated a higher clinical and ultrasound (US) maturation rates, arterial blood flow, and grip strength than controls. Subgroup analysis showed that isometric exercise training promoted clinical and US maturations, while isotonic exercise training only promoted clinical maturation. In conclusion, this study provides scientific evidence that isometric-hand exercise training at 30% MVC is feasible, safe, and effective to facilitate greater AVF maturation than isotonic-hand exercise training. In addition, the findings of this dissertation reveal that pre- and post-operative arm exercise training especially isometric exercise promote AVF maturation measured via clinical and US methods. Therefore, the isometric exercise type may be a suitable option to promote a usable AVF before and after operation in CKD patients.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectArm Exerciseen_US
dc.subjectArteriovenous Fistula Maturationen_US
dc.subjectChronic Kidney Diseaseen_US
dc.subjectPatientsen_US
dc.titleThe Effect of Arm Exercise on Arteriovenous Fistula Maturation in Chronic Kidney Disease Patientsen_US
dc.title.alternativeผลของการออกกำลังกายแขนต่อความพร้อมใช้งานของเส้นเลือดฟอกไต ในผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความไม่พร้อมใช้ของเส้นเลือดฟอกไตเป็นปัญหาวิกฤตในผู้ป่ วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังที่เข้ารับ การฟอกไต การออกกาลังกายก่อนและหลังผ่าตัดทาเส้นฟอกไตช่วยลดภาวะดังกล่าวและส่งเสริมให้ เส้นเลือดฟอกไตพร้อมใช้งาน อย่างไรก็ตาม หลักฐานงานวิจัยเกี่ยวกับประโยชน์ของโปรแกรมการ ออกกำลังกายต่อความพร้อมใช้งานของเส้นเลือดฟอกไตยังไม่ชัดเจน ส่วนแรกของการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการฝึ กการออกกำลังกายมือ ชนิดไอโซเมตริกต่อความพร้อมใช้งานของเส้นเลือดฟอกไตในผู้ป่ วยภาวะไตวายเรื้อรังภายหลังการ ผ่าตัด โดยสุ่มผู้ป่ วยเป็นกลุ่มที่ฝึกการออกกำลังกายชนิดไอโซเมตริกหรือไอโซโทนิก (25 คนต่อกลุ่ม) ผู้ป่ วยออกกำลังกายที่ระดับความหนักร้อยละ 30 ของแรงหดตัวสูงสุดของกล้ามเนื้อบีบมือ ทุกวันนาน 10 สัปดาห์ ผู้ป่ วยได้รับการประเมินขนาดเส้นเลือดและการไหลของเลือดดำและแดง ความพร้อมใช้ งานของเส้นเลือดฟอกไตจากการประเมินทางคลินิกและประเมินด้วยอัลตราซาวด์ ระยะเวลาที่เกิด ความพร้อมใช้งานซึ่งถูกประเมินในสัปดาห์ที่ 0 (วันผ่าตัด) 2, 6 และ 10 ของการออกกำลังกาย ผล การศึกษาพบว่า ในสัปดาห์ที่ 6 และ 10 ผู้ป่ วยกลุ่มไอโซเมตริกมีขนาดเส้นเลือดดำที่ใหญ่กว่าและการ ไหลของเลือดดาที่มากกว่ากลุ่มไอโซโทนิก และมีจานวนผู้ที่มีเส้นเลือดฟอกไตที่พร้อมใช้งาน มากกว่าตั้งแต่สัปดาห์ที่ 2 ของการออกกำลังกาย ส่วนที่สองของการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมงานวิจัยอย่างเป็นระบบ และแสดงผล ของการฝึกการออกกาลังกายแขนก่อนและหลังการผ่าตัดเส้นเลือดฟอกไตต่อความพร้อมใช้งานของ เส้นเลือดฟอกไตในผู้ป่ วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง โดยสืบค้นจากฐานข้อมูล Scopus, CINAHL, PubMed, Science Direct และ Cochrane Library ร่วมกับการใช้คาค้นสาคัญที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยที่มี ภาวะไตวายเรื้อรัง ความพร้อมใช้งานของเส้นเลือดฟอกไต การทำงานของหลอดเลือด และการออกกำลังกาย ผลการศึกษาพบว่าการฝึกการออกกำลังกายก่อนผ่าตัดช่วยเพิ่มขนาดของเส้นเลือดและกำลัง กล้ามเนื้อบีบมือได้ จากการวิเคราะห์อภิมานผลของการฝึ กการออกกำลังกายแขนภายหลังการผ่าตัด พบว่าช่วยเพิ่มอัตราความพร้อมใช้งานของเส้นเลือดจากการประเมินทางคลินิกและประเมินด้วยอัล ตราซาวด์ การไหลของเลือด และกำลังกล้ามเนื้อบีบมือได้มากกว่ากลุ่มควบคุม ผลการวิเคราะห์ย่อย พบว่าการออกกำลังกายชนิดไอโซเมตริกช่วยเพิ่มอัตราความพร้อมใช้งานของเส้นเลือดทั้งจากการ ประเมินทั้งสองชนิด ในขณะที่การออกกำลังกายชนิดไอโซโทนิกช่วยเพิ่มเฉพาะการประเมินทาง คลินิก โดยสรุป งานวิจัยครั้งนี้ได้แสดงหลักฐานเชิงวิทยาศาสตร์ว่าการฝึ กการออกกำลังกายมือชนิด ไอโซเมตริกสามารถทำได้ มีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการช่วยให้เส้นเลือดฟอกไตมีความ พร้อมใช้มากกว่าการฝึ กการออกกำลังกายมือชนิดไอโซโทนิก นอกจากนี้ ผลการศึกษายังแสดงให้ เห็นว่าการฝึ กการออกกำลังกายแขนทั้งก่อนและหลังการผ่าตัดทำเส้นฟอกไต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ ออกกำลังกายชนิดไอโซเมตริกช่วยให้เส้นเลือดฟอกไตพร้อมใช้งานทั้งจากการประเมินทางคลินิก และประเมินด้วยอัลตราซาวด์ ดังนั้น การออกกำลังกายมือชนิดไอโซเมตริก อาจเป็ นตัวเลือกที่ เหมาะสมในการส่งเสริมการใช้งานได้ของเส้นฟอกไตทั้งก่อนและหลังการผ่าตัดทำเส้นฟอกไตใน ผู้ป่ วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601155901 โศธิดา นันตะกูล.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.