Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72170
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สิทธิเกรียงไกร-
dc.contributor.advisorชยันต์ วรรธนะภูติ-
dc.contributor.authorอาทิตย์ แผ่บุญen_US
dc.date.accessioned2021-09-16T04:27:48Z-
dc.date.available2021-09-16T04:27:48Z-
dc.date.issued2563-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72170-
dc.description.abstractThis thesis aims to study the dynamics of Tai folk healers on the Thai-Myanmar Border, Mae Ai District, Chiang Mai Province. This research has three main questions. First, how borderland influence the existence of Tai folk healers? Second, what is the relationship between Tai folk healers and other health care systems existing in the Thai-Myanmar border communities? Third, how Tai folk healers, who converted their religion from Buddhism to Roman Catholicism, adjust their beliefs into their practice of health and treatment? This ethnographic study has conducted the fieldwork from August 2018 - April 2019 by using participatory observation and in-depth interviews as research methods and analyzed research data through the concepts of borderland, medical pluralism, and negotiation of folk healers. The study was conducted at Ban Pang Nai Village, which is located 5 kilometers from the Thai-Myanmar border. Ban Pang Nai was originally the home of Tai Yuan ethnic group, later in 1982, the Shan ethnic group who were living in Shan State, Myanmar had been fled from armed conflicts in Myanmar, and settle down at Ban Pang Nai, Chiang Mai, Thailand. Currently, the third generation of Shan is increasing up to 1,000 people, however, 850 people still living without Thai nationality. Mo Ya Tai is a group of Tai folk healers who taking care of members of the community’s health, playing an important role in the health care system of Ban Pang Nai. Currently, there are ten of Mo Ya Tai, aged between 50 and 85, providing health care services in the community. Mo Ya Tai can be classified into 5 specialties: herbal therapist, orthopedist, massage therapist, ritual healer, and medical health worker (Mo Kra Pao). Besides, there are other forms of health care available in this village such as groceries selling herbal roots and modern medicine and peddling medicine healers (Mo Rae), coexisting with modern treatment in various levels, such as village health volunteers (VHV), sub-district health-promoting hospital (HPH), and district hospital. As there are many forms of modern health care service providing in the community, and the restrictions on access to various sources of herbs and traditional medicines, Tai folk healers must adapt themselves to the rapid change context. The study found that upon approaching the new society, Tai folk healers had faced dynamic changes in the economic, social, and political context in the village. Politically, entering into Thailand illegally was being perceived by the Thai government as a threat to national security, thus at an early stage, they need to avoid being in the attention of government officials by concealing their identity as Tai folk healers. However, when they realize that the villagers have difficulty to access modern health care services and suffer from untreated sickness due to economic condition, the folk healers turn to resurrect their knowledge and skills to help their community members. Some groups of Tai folk healers need to cost their services in reflecting on the current economic conditions. The recent developments of modern health services available in Ban Pang Nai have challenged the existence of folk healers. The folk healers do not only exist as a "healer" but in the Thai state context, folk healers also put themselves into the role of "patient" of modern treatment systems which allowed them to experience and immerse themselves in western health care culture. Folk healers brought new knowledge they gained from modern medicine and combine the different concepts, beliefs, sickness explanations, and knowledge into their treatment practices. However, being an unregistered practitioner under the Thai law, thus to avoid being arrested, the Tai folk healers have set their limits of treatment only for those who are members of their community, and reject to give treatment to strangers. In the case of the Roman Catholic Tai folk healers, there are negotiations with fellow believers and religious teachers by redefining the ancestor spirits as the spirits of benefactors below God. At the same time, they tried to act as a good Christian by following the teachings of religion while being ethical folk healers. Amid the rapid change in the context border area of the Ban Pang Nai, the dynamics of Tai folk healers and space dynamics are therefore inseparable. Since Tai folk healers at Ban Pang Nai are not only folk healers, who adhere to the original knowledge until the resistance or surrendering to the knowledge that they had, was swallowed up and faded with time. However, the Tai folk healers have made a twist through their intelligence, adaptation to negotiate with economic, social, and political conditions to inherit knowledge, ethnic wisdom, and be a custodian of the Tai community identity in the Thai-Myanmar border context.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหมอยาไตen_US
dc.subjectชายแดนไทยen_US
dc.subjectเมียนมาen_US
dc.titleพลวัตหมอยาไตในบริบทชายแดนไทย – เมียนมาen_US
dc.title.alternativeDynamics of Tai Folk Healers on the Thai-Myanmar Borderen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddcว 615.88 อ243พ 2563-
thailis.controlvocab.thashแพทย์แผนโบราณ -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashไทใหญ่ -- การแพทย์แผนโบราณ-
thailis.controlvocab.thashไทใหญ่ -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thailis.manuscript.callnumberว 615.88 อ243พ 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาพลวัตหมอยาไตบริเวณชายแดนไทย-เมียนมา อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณนา ใช้วิธีการสัมภาษณ์และการสังเกตการณ์อย่าง มีส่วนร่วม โดยมีคาถามการวิจัย ดังนี้ 1.ความเป็นพื้นที่ชายแดนมีผลต่อการดารงอยู่ของหมอยาไตอย่างไร 2.ความสัมพันธ์ระหว่างหมอยาไตกับระบบการดูแลสุขภาพอื่น ๆ ในชุมชนชายแดนไทย-เมียนมาเป็นอย่างไร และ 3.หมอยาไตที่เปลี่ยนศาสนาจากพุทธมาเป็นคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกมีการปรับความเชื่อในเรื่องสุขภาพและการให้การรักษาไปอย่างไร แนวคิดที่ใช้คือ แนวคิดพื้นที่ชายแดน แนวคิดพหุลักษณ์ทางการแพทย์และแนวคิดการต่อรองของหมอพื้นบ้าน ระยะเวลาการศึกษา เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน สิงหาคม พ.ศ 2561 จนถึง เดือนเมษายน พ.ศ. 2562 พื้นที่ศึกษาคือ บ้านปางใน เป็นหมู่บ้านที่อยู่ห่างจากชายแดนไทย - เมียนมา 5 กิโลเมตร เดิมทีบริเวณนี้เป็นที่อยู่ของ กลุ่มชาติพันธุ์ไทยวน ต่อมาใน พ.ศ. 2525 ชาวไทใหญ่ รัฐฉานเผชิญกับปัญหาความขัดแย้งทาง ชาติพันธุ์ในประเทศเมียนมาจึงได้อพยพมาอยู่ที่นี่ ปัจจุบันนี้เป็นคนรุ่นที่ 3 มีประชากรทั้งหมด 1,000 คน ไม่มีสัญชาติไทย 850 คน ระบบการดูแลสุขภาพในบ้านปางในมี หมอยาไต เป็นหมอพื้นบ้านชาวไทใหญ่ที่ทาหน้าที่ดูแลความเจ็บป่วยแก่ชาวบ้านปางใน ปัจจุบันมีอยู่จานวน 10 คน อายุสูงสุด 85 ปี ต่าสุด 50 ปี ทั้งหมดอพยพมาจากรัฐฉาน ซึ่งพอจะจาแนกหมอยาไตได้ดังนี้ หมอยาสมุนไพร หมอกระดูก หมอยาพิธีกรรม หมอยากระเป๋า และหมอบีบนวดแก้เส้น นอกจากนี้ยังมีรูปแบบการดูแลสุขภาพอื่น ๆ เช่น ร้านขายของชาที่ขายรากไม้สมุนไพรและยาแผนปัจจุบัน หมอยาเร่ การรักษาแผนปัจจุบันหลากหลายระดับ เช่น อสม. รพ.สต. รพ.ชุมชน เมื่อการดูแลรักษาสุขภาพในชุมชนมีหลากหลายรูปแบบ ประกอบกับข้อจากัดในการเข้าถึงแหล่งสมุนไพร และยาพื้นบ้านต่าง ๆ จึงทาให้หมอยาไตต้องปรับตัว จากการศึกษาพบว่า เมื่อเข้ามาอยู่ในสังคมใหม่หมอยาไตต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองในหมู่บ้าน ในทางการเมืองการเข้ามาในฐานะผู้ลักลอบเข้าประเทศ ที่อาจเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ ทาให้หมอยาต้องปกปิดอัตลักษณ์ความเป็นหมอยาไทใหญ่ ของตัวเองในระยะแรก เพื่อหลีกเลี่ยงการเป็นที่โดดเด่นเป็นที่จับจ้อง แต่แล้วหมอยาก็ต้องกลับมา รื้อฟื้นความรู้ความสามารถเมื่อชาวบ้านไม่มีที่พึ่งยามเจ็บป่วย ท่ามกลางความเป็นอยู่ในหมู่บ้านที่ ต้องพึ่งพา “เงิน” เป็นหลัก หมอยาไตบางกลุ่มจาเป็นต้องปรับค่ารักษาใหม่ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน การพัฒนาได้นาพาให้หมอยาต้องเผชิญหน้ากับระบบการแพทย์สมัยใหม่ อาทิ โรคที่หลากหลาย ในหมู่บ้านปางในนี้เหล่าหมอยามิได้ดารงอยู่ในฐานะ “ผู้ให้รักษา” เท่านั้น แต่ในบริบทรัฐไทยนี้ หมอยาได้มีโอกาสเข้าถึงการรักษาตามโรงพยาบาลในฐานะ “ผู้ป่วย” ของระบบการรักษาสมัยใหม่ ซึ่งเปิดพื้นที่ให้หมอยาได้สัมผัส ซึมซับวัฒนธรรมการดูแลสุขภาพแบบตะวันตก จนเกิดการผสมผสานแนวคิด ความเชื่อ การอธิบายโรค รวมไปถึงวิธีการรักษาความเจ็บป่วยระหว่างความรู้ที่ตนเองมีกับความรู้ใหม่ที่ได้รับ นอกจากนี้ภายใต้สถานะ “หมอเถื่อน” ของกฎหมายไทย หมอยามีการวางขอบเขตการรักษาของตนเอง โดยให้อยู่ในพื้นที่ของตัวเอง ไม่กระทาการรักษาให้กับคนที่ไม่รู้จัก เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกจับคุม ในกรณีของหมอยาไตที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก มีการต่อรองกับเพื่อนร่วมศาสนาและครูสอนศาสนา โดยการนิยามผีครูใหม่ในฐานะวิญญาณของผู้มีพระคุณที่อยู่ต่ากว่าพระเจ้า พร้อมกันนั้นก็พยายามทาหน้าที่คริสตชนที่ดีตามคาสอนของศาสนาไปพร้อม ๆ กับเป็นหมอยามีจริยธรรม ท่ามกลางความเปลี่ยนเปลี่ยนที่รวดเร็วของบริบทชายแดนบ้านปางใน พลวัตหมอยาไตและพลวัตของพื้นที่จึงไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพราะหมอยาไตบ้านปางในไม่ใช่หมอพื้นบ้าน ที่ยึดถือแต่องค์ความรู้ดั้งเดิม จนเกิดการต่อต้านหรือยอมจานนให้องค์ความรู้ที่ตนองมีถูกกลืนกินและจางหายไปกับกาลเวลา แต่หมอยาไตมีการพลิกแพลง ใช้ไหวพริบปรับตัวต่อรองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เพื่อสืบทอดความรู้ภูมิปัญญาชาติพันธุ์และเป็นผู้รักษาอัตลักษณ์ชุมชนไทใหญ่ ในบริบทชายแดนไทย-เมียนมาสืบต่อไปen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590431034 อาทิตย์ แผ่บุญ.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.