Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72163
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนพดล กรประเสริฐ-
dc.contributor.authorชญาดา รวิวรรณen_US
dc.date.accessioned2021-09-10T04:10:15Z-
dc.date.available2021-09-10T04:10:15Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72163-
dc.description.abstractNowadays, traffic congestion is one of the important problems that contribute to energy depletion and air pollution. The yearly report of the global weather found that the high level of air pollution causes the decreasing rate of lifespan among the population in the area by 20 months, and more than 90 percent of the population lives in the area that under the standard of World Health Organization (State Of Global Air, 2562.) This study indicates that vehicles using fuel are important sources of air pollution in large cities around the world, as well as in Thailand. Typical physical characteristics of intersections have an insufficient performance of road users. These problems effect the efficiency of vehicle mobility which leads to the traffic congestion problem. Control of intersection is the selection of resolving the problem for the convenience and safety of road users. Moreover, they decrease the impacts of energy and environment. This study is to analyze the energy and environmental efficiencies for the control of intersections by applying the microscopic traffic simulation model (PTV VISSIM) to generate a cross-area model controlled in various alternative models. Then, analyzed consists of travel delay, fuel consumption, and air pollution consideration for sufficiency of the intersection. The analyzation includes 2 sections, the first section is the analyzation of the design and control for 3 intersections which are case study 1) four-legged, two-lane intersections, case study 2) four-legged with major four-lane roads and minor two-lane roads, and case study 3) four-legged, four-lane intersections by assigning the different traffic volume between major and minor road. The second section is the analyzation of the energy and environmental impact for intersection control of Chiang Rai 2 road, Chiang Mai University. The results showed that under the same traffic conditions, intersection control would affect fuel consumption and emission differently. Therefore, selecting an appropriate intersection design control could result in sustainable benefits for both users and communities.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมสำหรับการควบคุมทางแยกด้วยแบบจำลองการจราจรระดับจุลภาคen_US
dc.title.alternativeAnalysis of energy and environmental efficiency for intersection control by microscopic traffic simulation modelsen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc388.41-
thailis.controlvocab.thashจราจร -- แบบจำลอง-
thailis.controlvocab.thashพลังงาน-
thailis.controlvocab.thashสิ่งแวดล้อม-
thailis.manuscript.callnumberว 388.41 ช132ก 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันปัญหาการจราจรติดขัดเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลให้เกิดความสูญเสียด้านพลังงานและผลกระทบทางด้านมลพิษทางอากาศ จากรายงานสถานะอากาศโลกประจำปี พบว่า มลพิษทางอากาศทำให้ประชากรในพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศสูงจะมีอายุสั้นลงโดยเฉลี่ย 20 เดือน และประชากรโลกมากกว่าร้อยละ 90 อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ค่าดัชนีคุณภาพอากาศต่ำกว่ามาตรฐานองค์กรอนามัยโลก (State Of Global Air, 2562) รายงานนี้ชี้ชัดว่ายานพาหนะเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศที่สำคัญของเมืองใหญ่ทั่วโลกรวมถึงเหมือนหลักอื่นๆในประเทศไทยด้วย ลักษณะทางกายภาพโดยทั่วไปของทางแยกบนถนนหลายแห่งในปัจจุบันมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอสำหรับผู้ใช้ถนน ปัญหาเหล่านี้มักส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพด้านการเคลื่อนตัว ก่อให้เกิดจราจรติดขัด ในขณะเดียวกันก็ส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้ใช้ถนน การควบคุมทางแยกที่เหมาะสมเป็นทางเลือกในการแก้ไขปัญหาในภาพรวม เพื่อให้การเดินทางตลอดเส้นทางของผู้ใช้ถนนสามารถเดินทางได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย กล่าวคือจะสามารถแก้ปัญหาการจราจรติดขัด และช่วยลดผลกระทบจากการจราจรติดขัดที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต พลังงานและสิ่งแวดล้อมและผลประโยชน์ทางสังคมภายในเวลาเดียวกัน การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมสำหรับการควบคุมทางแยก โดยการประยุกต์ใช้แบบจำลองการจราจรระดับจุลภาค PTV VISSIM สร้างแบบจำลองบริเวณทางแยกที่ควบคุมทางแยกด้วยรูปแบบทางเลือกต่าง ๆ จากนั้นวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมสำหรับการควบคุมทางแยก โดยพิจารณาจากความล่าช้าในการเดินทาง ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง และปริมาณมลพิษทางอากาศ ซึ่งการวิเคราะห์จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่หนึ่ง เป็นการวิเคราะห์การควบคุมทางแยกกรณีศึกษาตัวอย่าง 3 กรณี ได้แก่ ทางแยกที่ตัดกันระหว่างถนนสายหลักและสายรองขนาด 2 ช่องจราจร, ทางแยกที่ตัดกันระหว่างถนนสายหลักขนาด 4 ช่องจราจร และถนนสายรองขนาด 2 ช่องจราจร และทางแยกที่ตัดกันระหว่างถนนสายหลักและสายรองขนาด 4 ช่องจราจร กำหนดให้มีปริมาณจราจรของถนนสายหลักและสายรอง สัดส่วนยานพาหนะ และสัดส่วนการเลี้ยวที่แตกต่างกันหลายค่า ส่วนที่สอง เป็นการวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมสำหรับการควบคุมทางแยกกรณีศึกษาบริเวณถนนเชียงราย 2 ภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษา พบว่า ภายใต้สภาพการจราจรเดียวกัน ที่รูปแบบการควบคุมทางแยกแตกต่างกัน จะส่งผลให้เกิดผลกระทบด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน การควบคุมทางแยกที่เหมาะสมจะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อผู้ใช้รถใช้ถนนและต่อชุมชนอย่างยั่งยืนen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631007 ชญาดา รวิวรรณ.pdf9.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.