Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72132
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Jarunee Maneekul-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Charin Mangkhang-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Chetthapoom Wannapaisan-
dc.contributor.authorPanadda Pandeekaen_US
dc.date.accessioned2021-06-15T04:02:50Z-
dc.date.available2021-06-15T04:02:50Z-
dc.date.issued2018-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72132-
dc.description.abstractDevelopment of an Instructional Model of Social Studies Teachers to Promote Critical Thinking Skills Among High School Students used research and development process. It aimed to 1) examine the current conditions and expectations of promoting critical thinking of high school student, 2) create the instructional models of social studies teachers to promote critical thinking skills of high school students and 3) study the results of using the instructional models of social studies teachers to promote critical thinking skills of high school students. The sample group consisted of 11 academic executive administrators, 83 social studies teachers, and 385 high school students from schools under the foundation of the Church of Christ in Thailand. The research instruments were a questionnaire and an interview. The data were analyzed for frequency, percentage, mean, t-test, and SWOT Analysis. According to the results, it was found that 1) the promotion of critical thinking skills of the high school students occurred at a certain level and the sample group statistically significantly expected to have more instructions that promotes critical thinking skills than the current situation. Moreover, it wad discovered that 2) the instructional models of the social studies teachers to promote critical thinking skills of the high school students consisted of 4 aspects which were 1) Principles of teaching and learning styles 2) Objectives of teaching styles 3) Instructional process content and 4) Measurement and evaluation, and 3) according to the results of using the instructional models of social studies teachers to promote critical thinking skills with the instruction that focused on process skills under APECCA Model in order to develop critical thinking skills consisting of 6 step which were 1) Awareness: A, 2) Process Learning: P, 3) Explanation: E, 4) Creating Knowledge: C, 5) Communication: C and 6) Application: A, it illustrated that the effectiveness and the propriety of the developed instruction focusing process skills under APECCA Model showed statistically significant improvement of the ability to think critically of the high school students after the experiment (t-test 12.126; p value =.000). After the experiment, the ability of the majority of the students were in intermedia level. It accounted for 59.20 percent. Before the experiment, the ability was intermedia level with 54.40 percent. In addition, the satisfaction of the social studies teachers and the high school students were in very high level. In conclusion, this research project was different from the existing research projects in the aspect of clarity fo the principles, theories, and the instructions that were based on the systematically operational curriculum. There were many aspects of the facilitating elements of the instructional models such as the management and the role of the executive administrators. Furthermore, the clarity to promote critical thinking skills of the high school students was the drive of the process. It became the mechanism to successful aims.Thus, social studies teachers should be aware of the changes in 21st century and design an instruction to promote skills for living in 21st century. For this reason, promoting critical thinking skill becomes more important in education in 21st century education.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleDevelopment of an Instructional Model of Social Studies Teachers to Promote Critical Thinking Skills Among High School Studentsen_US
dc.title.alternativeการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมทักษะ การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นการวิจัยที่ใช้กระบวนวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและความคาดหวังในการส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) สร้างและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารวิชาการ 11 คน ครูสังคมศึกษา 83 คน และนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 385 คน จากสถานศึกษาสังกัดโรงเรียนมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยโดยใช้แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย t-test, x^2และ SWOT Analysis ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายส่วนใหญ่เกิดขึ้นบ้างแล้วและกลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังในการจัดการเรียนการสอนให้มีการส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณมากกว่าสภาพที่เป็นอยู่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) รูปแบบการเรียนการสอนของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบการเรียนการสอน 3) เนื้อหากระบวนการเรียนการสอน และ 4) การวัดและประเมินผล และ 3) ผลของการใช้รูปแบบการเรียนการสอนของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ (Process Skill) ภายใต้รูปแบบ APECCA Model เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ประกอบด้วยกระบวนการเรียนรู้ 6 ขั้นตอน คือ ขั้นที่1 ตระหนัก ใคร่รู้(Awareness: A) ขั้นที่ 2 สู่กระบวนการเรียน (Process Learning: P) ขั้นที่ 3 อธิบายลงข้อสรุป (Explanation: E) ขั้นที่ 4 สร้างองค์ความรู้ใหม่ (Creating knowledge: C) ขั้นที่ 5 สื่อสาร สัมพันธ์ (Communication: C) และขั้นที่ 6 สร้างสรรค์ประยุกต์ (Application: A) พบว่า จากการทดลองแสดงถึงประสิทธิภาพและความเหมาะสมของวิธีการจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ (Process Skill) ภายใต้รูปแบบ APECCA Model ที่พัฒนาขึ้นโดยแสดงออกถึงความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหลังและก่อนการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ t-test 12.126; p value =.000 ส่วนระดับความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนหลังการทดลองรูปแบบการเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนการสอนอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด คือ ร้อยละ 59.20 ก่อนการเรียนการสอนตามรูปแบบอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 54.40 และความพึงพอใจของครูสังคมศึกษาและของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับสูงมาก ผลการวิจัยนี้ มีความแตกต่างกันไปจากผลการศึกษาวิจัยที่มีอยู่ในเชิงความชัดเจนของการมีหลักการ ทฤษฎี การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรที่ปฏิบัติได้เชิงระบบ โดยองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนจะมีปัจจัยเอื้อ เช่น การบริหารจัดการ บทบาทของผู้บริหาร เป็นต้น ส่วนกระบวนการขับเคลื่อน คือ ความชัดเจนในการส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่จะเป็นกลไกนำไปสู่วิธีวิทยาการจัดการเรียนการสอน และความสำเร็จตามเป้าประสงค์ ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนของครูสังคมศึกษาจึงควรต้องมีการตื่นตัวในการออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 การฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงเป็นอีกหนึ่งทักษะที่มีความสำคัญต่อการศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570252006 ปนัดดา ปัญฎีกา.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.