Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์รัตน์ นพฤทธิ์-
dc.contributor.authorกนกวรรณ หงษ์เงินen_US
dc.date.accessioned2021-05-12T02:48:14Z-
dc.date.available2021-05-12T02:48:14Z-
dc.date.issued2020-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72127-
dc.description.abstractThe purpose of this research were 1) to study guidelines for learning management in statistical literacy in knowledge aspect through Realistic Mathematics Education Approach and 2) to study statistical literacy in knowledge aspect of grade 11 students learning through Realistic Mathematics Education Approach. Target group of this research were 43 grade 11 students at Wattanothai Payap School, Meaung District, Chiang Mai Province in the second semester of the academic year 2019. Research instruments were lesson plans, statistic literacy test and teacher’s field note. Data were analyzed by percentage and content analysis. The results showed that 1) guidelines for learning management characteristic of problem that support students use real world situations to improve their statistical literacy was the problem that motivate students to learn from their previous experiences and give them the opportunity to have a variety of ways to solve problems. Teacher had responsibility to allow students to express their opinions, use informative media and compare different opinions in the discussion. 2) The level of each statistic literacy elements showed that 1) Literacy Skills, 90.70 percent of students, were able to accurately and completely answer the questions 2) Statistical Knowledge 67.44, percent of students able to use the statistics data to answer questions correctly 3) Mathematical Knowledge, 53.49 percent of students could not found the correct answer, but performed mathematical process 4) Context Knowledge, 55.81 percent of students able to choose statistics in appropriate situations through personal opinions and 5) Critical Questions, 48.84 percent of students able to answer given information reliability question without giving statistical reasoning.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectสถิติen_US
dc.subjectนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.subjectนักเรียนen_US
dc.subjectการเรียนรู้en_US
dc.titleการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เพื่อส่งเสริมการรู้ทางสถิติด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeUsing Realistic Mathematics Education Approach to Promote Statistical Literacy : Knowledge Aspect of Grade 11 Studentsen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ-
thailis.controlvocab.thashคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เพื่อส่งเสริมการรู้ทางสถิติ ด้านความรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริงส่งเสริมการรู้ทางสถิติ ด้านความรู้ และ 2) ศึกษาการรู้ทางสถิติ ด้านความรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง กลุ่มเป้าหมายของการวิจัยนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เรื่อง สถิติ จำนวน 7 แผน 14 ชั่วโมง แบบประเมินการรู้ทางสถิติ และแบบบันทึกหลังการสอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาร้อยละของจำนวนนักเรียนในแต่ละระดับของการรู้ทางสถิติในแต่ละวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) แนวทางการจัดการเรียนรู้ในด้านสถานการณ์ปัญหาลักษณะร่วมของสถานการณ์ปัญหาที่สนับสนุนให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงโลกจริงสู่พัฒนาการรู้ทางสถิติของนักเรียนนั้น เป็น สถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์เดิมของนักเรียน และเปิดโอกาสให้นักเรียนมีวิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหา ส่วนการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน ผู้สอนมีหน้าที่ในการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความเห็น มีการใช้สื่อเพื่อให้เกิดความน่าสนใจ และความชัดเจน เปรียบเทียบความเห็นที่แตกต่างกัน 2) ผลการวัดระดับการรู้ทางสถิติของนักเรียนแต่ละด้านพบว่า 1) ทักษะการรู้หนังสือ นักเรียน ส่วนใหญ่ 90.70 % สามารถตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่โจทย์กำหนดได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน 2) ด้านความรู้สถิติ นักเรียนส่วนใหญ่ 67.44% นักเรียนสามารถนำค่าสถิติที่โจทย์กาหนดให้ไปใช้ตอบคำถามได้ถูกต้อง 3) ด้านการรู้คณิตศาสตร์ นักเรียนส่วนใหญ่ 53.49 % ยังไม่สามารถหาค่าสถิติได้ถูกต้องแต่มีการดำเนินการตามกระบวนการคณิตศาสตร์ 4) ด้านความรู้เชิงบริบท นักเรียนส่วนใหญ่ 55.81 % สามารถเลือกใช้ค่าสถิติในสถานการณ์ที่เหมาะสม ให้เหตุผลโดยใช้ความคิดเห็นส่วนตัว และ 5) การตั้งคำถามเชิงวิพากษ์ นักเรียน 48.84 % สามารถตอบได้ว่าข้อมูลที่กำหนดให้มีความน่าเชื่อถือหรือไม่โดยระบุเหตุผลทางสถิติ จากการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริงen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610231001 กนกวรรณ หงษ์เงิน.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.