Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72123
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSakgasem Ramingwong-
dc.contributor.advisorNivit Charoenchai-
dc.contributor.advisorSate Sampattagul-
dc.contributor.advisorKorrakot Yaibuathet Tippayawong-
dc.contributor.authorSunida Tiwongen_US
dc.date.accessioned2021-05-12T02:33:21Z-
dc.date.available2021-05-12T02:33:21Z-
dc.date.issued2020-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72123-
dc.description.abstractLogistics Service Providers (LSPs) have become a success factor that can increase value added throughout an entire supply chain and can offer services according to customer needs. Since the Industrial Revolution, LSPs have become essential for managing supply chains in the global economy. This research has two objectives: the first is to develop a LSP Lifecycle Model (LSLM), and the second is to identify and evaluate the life cycle state of services and to improve mature or declining services by redesigning an appropriate lifecycle transition for each respective LSP. This research generates a new era of LSLM that integrates lifecycle management (Product Lifecycle Management, Service Lifecycle Management, and Product Service System) and the characteristics of logistics service. The LSLM comprises three phases, eight criteria, and fifteen sub-criteria. The three phases are Beginning of Life (BOL), Middle of Life (MOL), and End of Life (EOL). The eight criteria are service innovation, design and testing, long-term relationship, operation performance, financial performance, risk management, evaluation of customer satisfaction, and end of life decomposition. Adapted Axiomatic Design methodology aims to conceive and re-design services in order to enhance the LSLM through the application of Industry 4.0 (I4.0) technologies in order to improve service logistics. I4.0 generated the eight main Customer Needs (CNs), Functional Requirements (FRs) and Design Parameters (DPs), which are implemented in DPs by Big Data Analytics, IoT/IoS, real-time autonomous, and track & trace technology. The LSLM is validated to re-design logistics service for three case study LSPs in Thailand. Lifecycle-stage evaluation was adapted to identify the current status of the LSPs’ lifecycles. Identification and evaluation of the stages of logistics service was performed in order to re-design logistics service using three methodologies, namely, PLC analysis, matrix analysis (GE-Mckinsey, BCG matrix), and fuzzy inference. Four stages were identified: introduction, growth, maturity and decline stage. Evaluation for Case Studies 1, 2, and 3 revealed that all three are in the mature stage of EOL, scoring 61.15, 50.00, and 52.24, respectively. Next, logistics service strategies were implemented based on customer feedback using Quality Function Deployment (QFD). Customer requests were prioritized using the Best-Worst Method (BWM). The study combined the LSLM with I4.0 to improve service logistics. The most important factor for Case Study 1 according to BWM analysis was “Design service to meet customer requirements,” with an Importance Rate (IMP) of 0.3361. The most relatively important technical indicator shows the functional requirement of the “design and test service criterion to satisfy customer requirements” is 41.74. The re-design implemented for Case Study 1 includes text response, real-time tracking, and real-time monitoring of moving operations. For Case Study 2, analysis showed that the most important criterion is “Long-term relationship,” with a weight of 0.3328. The most relatively important technical indicator according to analysis is “Implement CRM initiation,” with a weight of 30.71. I4.0 is applied by developing an Internet of Things (IoT)/Internet of Services (IoS) and a real-time autonomous service to foster a long-term relationship. For Case Study 3, analysis of the importance rate (IMP) revealed that the most important criterion is “Long-term relationship”, with a weight of 0.3340. The most relatively important technical indicator is “Implement CRM initiation,” with a weight of 19.46. I4.0 is applied by developing an IoT/IoS and a real-time autonomous service to foster a long-term relationship. Recommended I4.0 tools are application text response, real-time tracking, and real-time monitoring of moving operation. The case studies showed the implementation of service logistics strategies with the feasibility solution of I4.0. Some examples of the advancement of I4.0 are the application of self-learning automation, big data analytics, real-time information, IoT, and smart sensors. The results of this study indicate that I4.0 strategies can be applied to re-design logistics service, but should be applied with caution. Although the developed LSLM and presented methodology can recommend measures for LSP development per their service requirements, there are some limitations. While the first phase generated the LSLM that can respond to and improve customer satisfaction for the entire lifecycle of logistics service and the second phase of identification and evaluation provided contemplative and multi-dimensional analysis of the service of interest, the third phase of new service redesign can only offer suggestions and the results are rather dynamic. Solid validation of the model requires implementation of the measures, which can be even more challenging.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectLogistics Serviceen_US
dc.subjectLSP Lifecycle Modelen_US
dc.subjectLifecycle Modelen_US
dc.titleRedesigning of Logistics Service Using LSP Lifecycle Modelen_US
dc.title.alternativeการออกแบบใหม่ของบริการด้านโลจิสติกส์โดยใช้ตัวแบบการจัดการวงจรชีวิตผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์en_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ได้กลายเป็ นปัจจัยสำคัญสู่ความสำเร็จที่ทำ ให้เกิดการเพิ่มขึ้นของ มูลค่าที่สามารถเข้าถึงได้ตลอดทั้งการจัดการในระบบห่วงโซ่อุปทานและมีการตอบสนองการบริการ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า หลังจากการปฎิวัติอุตสาหกรรมผู้ให้บริการด้าน โลจิสติกส์มีความจำเป็นสำหรับการจัดการระบบห่วงโซ่อุปทานในเศรษฐกิจระดับโลก วัตถุประสงค์ ของงานวิจัยนี้มี 2 วัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) การพัฒนาตัวแบบการจัดการวงจรชีวิตผู้ให้บริการด้าน โลจิสติกส์ 2) ทำการวินิจฉัยและประเมินสถานะวงจรชีวิตของการบริการและทำการพัฒนาการ บริการที่อยู่สถานะช่วงอิ่มตัวและช่วงถดถอยโดยการออกแบบใหม่ให้มีความเหมาะสมกับการ เปลี่ยนแปลงวงจรชีวิตสำหรับผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ ในงานวิจัยนี้ได้มีการสร้างตัวแบบการ จัดการวงจรชีวิตผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ในรูปแบบสมัยใหม่โดยการบูรณาการการจัดการวงจรชีวิต (วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์, วงจรชีวิตการบริการและ ระบบผลิตภัณฑ์ผสานบริการ) และคุณสมบัติของ การบริการด้านโลจิสติกส์ ตัวแบบการจัดการวงจรชีวิตผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์สามารถแบ่งตามคุณลักษณะแบ่งได้เป็น 3 ช่วง, 8 เกณฑ์กำหนด และ15 เกณฑ์กำหนดย่อย ตัวแบบการจัดการวงจรชีวิตผู้ให้บริการด้าน โลจิสติกส์ ประกอบด้วย 3 ช่วงได้แก่ ช่วงเริ่มต้นของชีวิต, ช่วงกลางของชีวิตและช่วงสุดท้ายของชีวิต และ8 เกณฑ์กำหนด ประกอบด้วย การสร้างสรรค์นวัตกรรมบริการ, การออกแบบและการทดสอบ, การสร้างความสัมพันธ์ระยะยาว, การประเมินด้านการดำเนินงาน, การประเมินด้านการเงิน, การบริหารความเสี่ยง, การประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภค และการจำแนกระยะสุดท้ายของช่วง ชีวิต การนำเครื่องมือการออกแบบแอคซิโอแมทิคมาปรับใช้ ทำให้เกิดความเข้าใจและเกิดการออกแบบ ใหม่ของการบริการเพื่อทำการปรับปรุงตัวแบบการจัดการวงจรชีวิตผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ ด้วยการประยุกต์ใช้อุตสาหกรรม 4.0 เพื่อการปรับปรุงบริการด้านโลจิสติกส์ อุตสาหกรรม 4.0 ถูกพัฒนาทำให้เกิด 8 ปัจจัยของในส่วนของความต้องการของลูกค้า, ความต้องการเกี่ยวกับหน้าที่ และการออกแบบปัจจัยที่กำหนดซึ่งทำให้มีผลในการออกแบบปัจจัยที่กำหนดโดยการใช้เครื่องมือ ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, อินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง และอินเตอร์เน็ตในการบริการ, การทำงานอัตโนมัติในทันที, เทคโนโลยีการติดตามสถานะ ตัวแบบการจัดการวงจรชีวิตผู้ให้บริการ ด้านโลจิสติกส์ได้มีการวัดผลของการออกแบบใหม่ของการบริการโลจิสติกส์โดยใช้ 3 กรณีศึกษา ของผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ในประเทศไทย การประเมินสถานะวงจรช่วงชีวิตถูกนำมาใช้ในการระบุสถานะปัจจุบันในการบริการนั้น ๆ การวินิจฉัยและประเมินสถานะวงจรชีวิตของการบริการเพื่อทำการออกแบบใหม่การบริการด้าน โลจิสติกส์โดยการใช้ 3 เครื่องมือ ได้แก่ การวิเคราะห์วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์, การวิเคราะห์แบบเมทริกซ์ (จีอี แมคคินซีย์ และบีซีจีเมทริกซ์) และตรรกศาสตร์คลุมเครือ ซึ่งสามารถวินิจฉัยได้ 4 สถานะ ได้แก่ ช่วงแนะนำ, ช่วงเจริญเติบโต, ช่วงอิ่มตัวและช่วงถดถอย กรณีศึกษาที่ 1,2 และ 3 ได้มีการนำเสนอผล ของการวินิจฉัยและการประเมินทั้ง 3 กรณี ศึกษาพบว่าสถานะอยู่ในช่วงอิ่มตัว โดยมีคะแนน การประเมินสถานะอยู่ที่ 61.15, 50.00 และ 52.24 หลังจากนั้นในแนวทางปฏิบัติทางด้านกลยุทธ์ บริการด้านโลจิสติกส์ได้นาการรับฟังเสียงของลูกค้าเข้ามาใช้ในการออกแบบใหม่ด้วยเครื่องมือ การแปลงหน้าที่ผลิตภัณฑ์เชิงคุณภาพ ทั้งนี้ในการหาลำดับความสำคัญของการระบุความต้องการ ของลูกค้าได้มีการนำเครื่องมือ เบสท์-เวิดส์ เข้ามาใช้ในการวิเคราะห์ด้วย จากผลการศึกษาถึงปัจจัยที่มีความสำคัญโดยการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือเบสท์-เวิดส์ ในกรณีศึกษาที่ 1 พบว่า การออกแบบการบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้ามีความสาคัญ สูงที่สุด โดยมีคะแนนค่าน้ำหนักอยู่ที่ 0.3361 ผลของระดับค่าความสัมพันธ์ทางเทคนิคพบว่าเกณฑ์ ที่ให้ความสำคัญมากที่สุดได้แก่ การออกแบบและการทดสอบการบริการเพื่อสร้างความพึงพอใจ ให้กับความต้องการของลูกค้า ซึ่งได้ค่าคะแนนเท่ากับ 41.74 การออกแบบใหม่ถูกนามาปรับปรุง ในกรณีศึกษาที่ 1 ได้แก่ การตอบกลับด้วยข้อความ, การติดตามสถานะแบบทันที, การตรวจสอบ ที่แสดงผลแบบทันที โดยการปรับปรุงสำหรับการบริการขนย้ายสินค้า กรณีศึกษาที่ 2 พบว่าปัจจัยที่มี ความสำคัญสูงที่สุดได้แก่ การสร้างความสัมพันธ์ระยะยาว และมีคะแนนค่าน้ำหนักอยู่ที่ 0.3328 ผลของระดับค่าความสัมพันธ์ทางเทคนิคพบว่าเกณฑ์ที่ให้ความสาคัญมากที่สุดได้แก่ การเริ่มต้น ปรับปรุงการบริหารความสัมพันธ์ของลูกค้า ซึ่งได้คะแนน 30.71 ทั้งนี้มีการนำ อุตสาหกรรม 4.0 มาประยุกต์ใช้ โดยจะมีการพัฒนาอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง, อินเตอร์เน็ตของการบริการ, การบริการ อัตโนมัติแบบทันที การประยุกต์ใช้อุตสาหกรรม 4.0 นี้เพื่อเติมเต็มการสร้างความสัมพันธ์ระยะยาว กรณีศึกษาที่ 3 พบว่าปัจจัยที่มีความสำคัญสูงที่สุดได้แก่ การสร้างความสัมพันธ์ระยะยาว และมี คะแนนค่าน้ำหนักอยู่ที่ 0.3340 โดยผลของระดับค่าความสัมพันธ์ทางเทคนิคพบว่าเกณฑ์ที่ให้ ความสำคัญมากที่สุดได้แก่ การเริ่มต้นปรับปรุงการบริหารความสัมพันธ์ของลูกค้า ซึ่งได้คะแนน 19.46 โดยจะมีการพัฒนาอินเตอร์เน็ตของทุกสิ่ง, อินเตอร์เน็ตของการบริการ, การบริการอัตโนมัติ แบบทันที การประยุกต์ใช้อุตสาหกรรม 4.0 นี้เพื่อเติมเต็มการสร้างความสัมพันธ์ระยะยาว จากกรณีศึกษาทั้ง 3 กรณี แสดงให้เห็นถึงการนำอุตสาหกรรม 4.0 ไปปฏิบัติซึ่งมีความเป็นไปได้ใน การนำไปใช้ในกลยุทธ์การบริการโลจิสติกส์ ผลที่ได้จากงานวิจัยนี้ พบว่า อุตสาหกรรม 4.0 ได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบใหม่ ของการบริการโลจิสติกส์ทั้งนี้ควรมีข้อแนะนำการใช้ที่เหมาะสม ถึงแม้ว่าการพัฒนาตัวแบบ การจัดการวงจรชีวิตผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์มีการนำวิธีการต่าง ๆ เข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อการให้ คำแนะนำ การวัดผลเพื่อการตอบสนองการบริการนั้น ๆ แต่ว่ายังมีข้อจำกัดในแต่ละบริการ งานวิจัย ได้แบ่งเป็ น 3 ขั้นตอน โดยขั้นตอนที่ 1 คือการคิดค้นตัวแบบการจัดการวงจรชีวิตผู้ให้บริการ ด้านโลจิสติกส์เพื่อตอบสนองและปรับปรุงต่อความพึงพอใจของลูกค้าตลอดทั้งวงจรชีวิตของการ บริการโลจิสติกส์ ขั้นตอนที่ 2 การวินิจฉัยและการประเมินสามารถทำให้ก่อเกิดความคิดที่ลึกซึ้ง และความเห็นที่มีความหลากหลายมิติเกี่ยวกับการบริการที่ได้รับความสนใจและลำดับขั้นตอนที่ 3 การออกแบบบริการใหม่เป็นเพียงการเสนอแนะและผลที่จะได้รับค่อนข้างที่จะเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา โดยการวัดผลจะถูกนำไปปฏิบัติโดยจะกำหนดด้วยตัวแบบที่จะทำให้มีผลที่เกิดขึ้นได้ อย่างมั่นคงซึ่งจะส่งผลทำให้เกิดการท้าทายความสามารถเป็นอย่างมากen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570651025 สุนิดา ธิว่อง.pdf13.19 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.