Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72121
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChoocheep Puthaprasert-
dc.contributor.advisorYongyouth Yaboonthong-
dc.contributor.advisorSuwan Muntabutara-
dc.contributor.authorManasanan Srisapanen_US
dc.date.accessioned2021-05-12T02:20:14Z-
dc.date.available2021-05-12T02:20:14Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72121-
dc.description.abstractThis research aimed to study the conditions, problems, and factors facilitating the integrated learning management 1) to develop learning for 21st century of learners of northeastern sports schools, 2) to create and verify an integrated learning management model for developing learning for 21st century utilizing participatory action research and 3) to study the results of using integrated learning management model for developing learning for 21st century. The samples were school directors, deputy school directors for academic affairs, head of the concerned divisions, and teachers teaching general subjects of sports school in Ubon Ratchathani, Si Sa Ket and Khon Kaen selected by using purposive sampling. The instruments were the form for conditions, problems, and factors facilitating the success, assessing the student’s 21st century learning skills on their learning and innovation and form for assessing satisfaction. The findings were as follows; 1. In overall, the problems were at a high level. The problem on learner’s quality was at the highest level. The factors facilitating integrated learning management, in general, were significant at the highest level including curriculum, media, and technology aspect, learning process and evaluation aspect, teacher’s leadership on learning organization aspect, educational administration and management development aspect and school quality assessment aspect. 2. Model constructing and validating was along with the open system approach for administration. The Input consists of 1) factors to facilitate the success which included desirable characteristics of learners in 21st century, teacher’s leadership, curriculum, media, and technology and education quality management and assessment, 2) The process consists of step 1- creating knowledge, step 2 – putting into practice, step 3 - outcome assessment and 3) The output consists of 21st century skills on learning and innovation, 4) The feedback was the reflection on problems and recommendations for operating in each step. 3. Results of validating the integrated learning management model revealed that the model had been valid, appropriate, feasible and relevant to the context and applicable for developing the 21st century learning in effective way.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectIntegrated learningen_US
dc.subjectSport studenten_US
dc.subjectSport schoolen_US
dc.subjectLearning skillsen_US
dc.subjectIntegrated learningen_US
dc.titleThe Model of Integrated Learning Management to Develop Learning in the 21st Century for Students of Northeast Sports Schoolen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อพัฒนาการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนโรงเรียนกีฬาภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหาและปัจจัยที่เอื้อต่อการบริหารจัดการเรียนรู้ 2) เพื่อสร้างและตรวจสอบรูปแบบ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้ประชากร คือ ผู้บริหาร ครู และนักเรียน โรงเรียนกีฬา สังกัดมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัญหา แบบประเมินทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และแบบประเมินความพึงพอใจ ผ่านการหาคุณภาพเครื่องมือมีค่า IOC ระหว่าง 0.8 1.00 และแบบสอบถามทุกฉบับมีค่าความเชื่อมั่น 0.82 ขึ้นไป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก ปัจจัยที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด 2. รูปแบบที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม เป็นไปได้ รูปแบบที่ได้สอดคล้องกับการบริหารจัดการเชิงระบบแบบเปิด ดังนี้ 2.1) ปัจจัยนาเข้า (Input) คือ ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จ ประกอบด้วย (1) หลักสูตร สื่อ และเทคโนโลยี (2) กระบวนการเรียนรู้และการประเมินผล (3) ภาวะผู้นำครู (4) ระบบการบริหารและการจัดการศึกษา 5) การประเมินคุณภาพสถานศึกษา 2.2) กระบวนการบริหาร (Process) มี 2 ขั้นตอน คือ 1) สร้างองค์ความรู้ จัดประชุมชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานและนำเสนอผลสภาพปัญหาและปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จ และ ศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบ (Best Practice) 2) นำสู่การปฏิบัติ โดยจัดทำแผนงานโครงการ ปฏิทิน ผู้รับผิดชอบ และดำเนินการตามแผนดังนี้ อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตร วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยการเรียนรู้และปฏิทินการเรียนรู้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ อบรมการวิจัยในชั้นเรียน นิเทศการสอน และ จัดเวทีแสดงผลงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3. ผลผลิตของรูปแบบ (Outputs) คือ 1) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ด้านการเรียนรู้และนวัตกรรมของผู้เรียน พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ความร่วมมือในการทำงานเป็นทีม แก้ปัญหาความขัดแย้งในกลุ่มจนสามารถผลิตผลงานต้นแบบ 2) ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีระดับความพึงพอใจสูงที่สุด ได้แก่ จัดแสดงผลงานนักเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570251009 มนัสนันท์ ศรีสาพันธ์.pdf3.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.