Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72108
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมชาย ปรีชาศิลปกุลen_US
dc.date.accessioned2021-04-23T08:50:39Z-
dc.date.available2021-04-23T08:50:39Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationนิติสังคมศาสตร์ 13, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2563), 45-63en_US
dc.identifier.issn2672-9245en_US
dc.identifier.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/242752/165859en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72108-
dc.descriptionCMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆen_US
dc.description.abstractบทความนี้ต้องการศึกษาถึงความเคลื่อนไหวของงานเขียนนิติปรัชญาในสังคมไทย นับตั้งแต่ได้มีวิชาปรัชญาถือกำเนิดขึ้นมาเมื่อราว 4 ทศวรรษก่อน ซึ่งสามารถจัดแบ่งความเคลื่อนไหวของงานเขียนนิติปรัชญาได้เป็น 2 ช่วงสำคัญ คือ หนึ่ง ระยะก่อตัวของความรู้ด้านนิติปรัชญา สอง ระยะของการขยายตัวของความรู้ ในระยะแรก งานเขียนทางด้านนิติปรัชญาจะสัมพันธ์กับการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษาอย่างมาก และมีการให้ความสำคัญกับแนวความคิดหลัก 3 กลุ่มด้วยกัน กล่าวคือ แนวความคิดสำนักกฎหมายบ้านเมือง สำนักกฎหมายธรรมชาติและสำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ ในระยะต่อมา งานเขียนด้านนิติปรัชญาได้ถูกผลิตขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องสัมพันธ์กับการเรียนในสถาบันอุดมศึกษาเพียงอย่างเดียว รวมทั้งความรู้ทางด้านนิติปรัชญาได้ขยายออกไปสู่ขอบเขตที่กว้างขวางมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านที่สัมพันธ์กับแนวคิดทางสังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์ ความรู้ทางด้านนิติปรัชญาในสังคมไทยต้องเผชิญกับข้อจำกัดอันเนื่องมาจากระบบการศึกษาที่ตกอยู่ภายใต้การครอบงำของวิชาชีพ, การยกย่องนักกฎหมายที่เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน อย่างไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมาก็ได้ส่งผลท้าทายต่อระบบความรู้ทางนิติปรัชญาในสังคมไทยอย่างสำคัญ This article is to study the dynamics of philosophy of law’s writing in Thai society since the 4 decades ago. These writings can be classified into 2 phases: firstly, the phrase of establishment, secondly, the phase of expansion. The first phase, writings on philosophy of law have related closely with university programs and focus in 3 main schools of thought: Legal Positivism, Natural Law School and Historical School of Law. Later phase, these writings are not linked directly to the university programs and have expanded the scope to the knowledge of social sciences and humanities. Limitations of knowledge on philosophy of law in Thai society depend on the education system which it has been influenced by legal profession, the superiority of the legal specialist to general lawyers. However, the rapid changes during last 2 decades in Thai society have challenged the knowledge of jurisprudence significantly. บทความนี้ต้องการศึกษาถึงความเคลื่อนไหวของงานเขียนนิติปรัชญาในสังคมไทย นับตั้งแต่ได้มีวิชาปรัชญาถือกำเนิดขึ้นมาเมื่อราว 4 ทศวรรษก่อน ซึ่งสามารถจัดแบ่งความเคลื่อนไหวของงานเขียนนิติปรัชญาได้เป็น 2 ช่วงสำคัญ คือ หนึ่ง ระยะก่อตัวของความรู้ด้านนิติปรัชญา สอง ระยะของการขยายตัวของความรู้ ในระยะแรก งานเขียนทางด้านนิติปรัชญาจะสัมพันธ์กับการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษาอย่างมาก และมีการให้ความสำคัญกับแนวความคิดหลัก 3 กลุ่มด้วยกัน กล่าวคือ แนวความคิดสำนักกฎหมายบ้านเมือง สำนักกฎหมายธรรมชาติและสำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ ในระยะต่อมา งานเขียนด้านนิติปรัชญาได้ถูกผลิตขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องสัมพันธ์กับการเรียนในสถาบันอุดมศึกษาเพียงอย่างเดียว รวมทั้งความรู้ทางด้านนิติปรัชญาได้ขยายออกไปสู่ขอบเขตที่กว้างขวางมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านที่สัมพันธ์กับแนวคิดทางสังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์ ความรู้ทางด้านนิติปรัชญาในสังคมไทยต้องเผชิญกับข้อจำกัดอันเนื่องมาจากระบบการศึกษาที่ตกอยู่ภายใต้การครอบงำของวิชาชีพ, การยกย่องนักกฎหมายที่เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน อย่างไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมาก็ได้ส่งผลท้าทายต่อระบบความรู้ทางนิติปรัชญาในสังคมไทยอย่างสำคัญ This article is to study the dynamics of philosophy of law’s writing in Thai society since the 4 decades ago. These writings can be classified into 2 phases: firstly, the phrase of establishment, secondly, the phase of expansion. The first phase, writings on philosophy of law have related closely with university programs and focus in 3 main schools of thought: Legal Positivism, Natural Law School and Historical School of Law. Later phase, these writings are not linked directly to the university programs and have expanded the scope to the knowledge of social sciences and humanities. Limitations of knowledge on philosophy of law in Thai society depend on the education system which it has been influenced by legal profession, the superiority of the legal specialist to general lawyers. However, the rapid changes during last 2 decades in Thai society have challenged the knowledge of jurisprudence significantly.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectนิติปรัชญาen_US
dc.subjectงานเขียนด้านนิติปรัชญาen_US
dc.subjectการศึกษากฎหมายen_US
dc.subjectPhilosophy of Lawen_US
dc.subjectWritings on Philosophy of Lawen_US
dc.subjectLegal Educationen_US
dc.titleเหลียวหลัง แลหน้า นิติปรัชญานิพนธ์ของไทยen_US
dc.title.alternativeLook Back, Look Forward on the Jurisprudence’s Writings in Thaien_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.