Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิรัชยา ศิวาวุธen_US
dc.contributor.authorปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยาen_US
dc.contributor.authorปราโมทย์ ทองสุขen_US
dc.date.accessioned2021-02-05T02:29:37Z-
dc.date.available2021-02-05T02:29:37Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 47,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2563) 460-471en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/247967/168452en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72004-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะนอกเหนือจากทักษะวิชาชีพที่จำเป็นต่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้องผ่าตัด โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ประเทศไทย โดยเดลฟายเทคนิค ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 27 คน รวม 3 กลุ่ม คือ 1) ผู้บริหารทางการพยาบาลโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 2) พยาบาลผู้ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลระดับตติยภูมิที่เคยผ่านการอบรมทักษะนอกเหนือจากทักษะวิชาชีพ และ 3) อาจารย์แพทย์ อาจารย์พยาบาล นักวิชาการที่เชี่ยวชาญในเรื่องทักษะนอกเหนือจากทักษะวิชาชีพหรือด้านความปลอดภัยผู้ป่วย วิธีการดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน คือ 1) สัมภาษณ์กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทักษะนอกเหนือจากทักษะวิชาชีพระดับสูง 4 คน เกี่ยวกับทักษะนอกเหนือจากทักษะวิชาชีพที่จำเป็นต่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้องผ่าตัดโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 2) นำข้อมูลที่ได้มาสังเคราะห์เนื้อหาแล้วนำมาสร้างแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ จำนวน 23 คน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของข้อคำถามแต่ละข้อ และ 3) นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันคำตอบอีกครั้ง หลังจากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัย พบว่า ทักษะนอกเหนือจากทักษะวิชาชีพที่จำเป็นต่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้องผ่าตัด โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ประเทศไทย มี 6 ด้าน 45 ข้อ โดยเรียงตามลำดับความสำคัญ ดังนี้ ทักษะการตระหนักรู้ในสถานการณ์ (situation awareness) 12 ข้อ ทักษะการสื่อสาร (communication) 7 ข้อ ทักษะการทำงานเป็นทีม (teamwork) 6 ข้อ ทักษะการจัดการงาน (task management) 7 ข้อ ทักษะความเป็นผู้นำ (leadership) 6 ข้อ และทักษะการตัดสินใจ (decision making) 7 ข้อ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำทักษะที่ได้ไปเป็นแนวทางสำหรับผู้บริหารองค์กรวิชาชีพในการกำหนดนโยบายและหารูปแบบในการพัฒนาสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดให้มีทักษะนอกเหนือจากทักษะวิชาชีพเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย The purpose of this research is to identity non-technical skills to improve patient safety for perioperative nurses in tertiary hospital using Delphi technique. Subjects included 27 experts from among nursing administrators in tertiary hospitals, registered nurses in operation room, doctors, nursing educators and academics. The Delphi technique consisted of 3 steps. Step 1: 4 highly experienced experts in non- technical skills were selected to describe non-technical skills for perioperative nurses in tertiary hospital. Step 2: data were analyzed and developed into a rating scales questionnaire. All items in the questionnaire were ranked by importance in non- technical skills by 23 experts. Step 3: data were analyzed using median and interquartile range which was then used to develop a new version of the questionnaire. The new questionnaire was sent to previous experts to confirm the previously ranked items. Data were analyzed again using median and interquartile range to summarize the study. Results showed that non-technical skills to improve patient safety for perioperative nurses comprised 6 skills and 45 elements as follows: 1) situation awareness with 12 elements, 2) communication with 7 elements, 3) teamwork with 6 elements, 4) task management with 7 elements, 5) leadership with 6 elements, and 6) decision making with 7 elements. Nurse administration can apply the components of non-technical skill to be a guideline to identify policy and platform for nursing human resource development in order to improve patient safety outcome.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectทักษะนอกเหนือจากทักษะวิชาชีพen_US
dc.subjectพยาบาลห้องผ่าตัดen_US
dc.subjectประเทศไทยen_US
dc.subjectnon-technical skillsen_US
dc.subjectperioperative nursesen_US
dc.subjectthailanden_US
dc.titleทักษะนอกเหนือจากทักษะวิชาชีพที่จำเป็นต่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้องผ่าตัด โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeNon-technical Skills of Perioperative Nurses for Patient Safety in Tertiary Hospital, Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.