Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71995
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเยาวรัตน์ ดุสิตกุลen_US
dc.contributor.authorบุญพิชชา จิตต์ภักดีen_US
dc.contributor.authorฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์en_US
dc.date.accessioned2021-02-05T02:29:37Z-
dc.date.available2021-02-05T02:29:37Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 47,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2563) 327-337en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/247959/168440en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71995-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพห้องคลอดมีความสำาคัญในการบริหารทรัพยากรบุคคลและพัฒนาคุณภาพ การบริการพยาบาลแก่หญิงตั้งครรภ์และทารกให้มีความปลอดภัยในระยะคลอด การศึกษาเชิงพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพห้องคลอด โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก โดยประยุกต์กลยุทธ์การพัฒนากรอบสมรรถนะของ Marrelli, Tondora, & Hoge (2005) ประชากร คือผู้เชี่ยวชาญพยาบาลห้องคลอด จำนวน 6 คน และกลุ่มตัวอย่างคือผู้ทรงคุณวุฒิ จำานวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแนวคำาถามได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิจำานวน 3 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทบทวนวรรณกรรมและการสัมภาษณ์พยาบาลห้องคลอด การพัฒนาสมรรถนะฉบับร่างวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและการหาค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของสมรรถนะเป็นรายข้อ ผลการศึกษาพบว่า กรอบสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพห้องคลอด โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ประกอบด้วย 8 ด้าน และพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำานวน 67 ข้อ ดังนี้ 1) การประเมินภาวะสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ 8 ข้อ 2) การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ 5 ข้อ 3) การส่งเสริมความก้าวหน้าการคลอด ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ 7 ข้อ 4) การพยาบาลผู้คลอด ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ 17 ข้อ 5) การทำาคลอดประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ 9 ข้อ 6) การพยาบาลทารกแรกเกิด ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ 14 ข้อ 7) การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ 3 ข้อ และ 8) การดูแลความปลอดภัยและการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ 4 ข้อ ข้อเสนอแนะผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำากรอบสมรรถนะนี้ไปประยุกต์ในการสร้างแบบประเมิน สมรรถนะและพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพห้องคลอด โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลกต่อไป The competency of registered nurses is important for human resource management and service quality development for pregnant women and fetuses to have a safe deliveries. The purpose of this development study was to develop a competency framework for registered nurses in labour room of Buddhachinaraj Phitsanulok Hospital by applying the stategies for developing competency framework of Marrelli, Tondora, & Hoge (2005). The population consisted of six nurses who are working in the labour room at Buddhachinaraj Phitsanulok hospital, and samples consisted of five experts. The instrument used for this study was an interview guideline validated by a panel of 3 experts. The data collection process included reviewing the literature, and interviewing nurses. Content analysis and item content validity index calculation of competencies were used for data analysis. The results of this study revealed that a competency framework for registered nurses in the labour room at Buddhachinaraj Phitsanulok hospital consisted of eight categories and 67 behavioral indicators which were 1) assessing health status of the pregnancy and fetus consisted of eight behavioral indicators, 2) nursing care for pregnant with complication consisting of five behavioral indicators, 3) promoting the progress of labour consisted of seven behavioral indicators, 4) nursing care for parturient consisted of seventeen behavioral indicators, 5) competency of conducting delivery consisted of nine behavioral indicators, 6) nursing care for neonatal consisted of fourteen behavioral indicators, 7) promoting breastfeeding consisted of three behavioral indicators and 8) caring for safety and risk management consisted of four behavioral indicators. Nurse administrators can apply this competency framework to create a performance evaluation criteria and to develop competency of registered nurses in the labour room at Buddhachinaraj Phitsanulok Hospital.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกรอบสมรรถนะen_US
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.subjectห้องคลอดen_US
dc.subjectCompetency Frameworken_US
dc.subjectRegistered Nurseen_US
dc.subjectLabour Roomen_US
dc.titleการพัฒนากรอบสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ห้องคลอด โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลกen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a Registered Nurse Competency Framework, Labour Room, Buddhachinaraj Phitsanulok Hospitalen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.