Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรุจษรา แก้วตาen_US
dc.contributor.authorศรีมนา นิยมค้าen_US
dc.contributor.authorสุธิศา ล่ามช้างen_US
dc.date.accessioned2021-02-05T02:29:35Z-
dc.date.available2021-02-05T02:29:35Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 47,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2563) 53-65en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/247915/168407en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71967-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในเด็กวัยเ รียนโรคมะเร็งที่ ได้รับเคมีบําาบัดเป็นสิ่งสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของโรคมะเร็งและผลจากการรักษาด้วยเคมีบําบัดต่อการดําารงชีวิตของเด็กป่วย การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์นี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างอาการอ่อนเปลี้ยกับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในเด็กวัยเ รียนโรคมะเร็งที่ ได้รับเคมีบําาบัดโดยใช้แนวคิดคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของเฟอร์แรนส์ และคณะร่วมกับการทบทวนวรรณกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กป่วยโรคมะเร็งอายุ 8-12 ปี ที่ ได้ รับเคมีบําบัดในแผนกผู้ป่วยนอกและหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลตติยภูมิในเขตภาคเหนือ 3 แห่ง ตั้ งแต่เดือนพฤศจิกายน 2561 ถึง เมษายน 2562 จํานวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ปกครอง แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเด็กป่วย แบบสอบถามอาการอ่อนเปลี้ยแบบหลายมิติ และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพสําหรับเด็กวัยเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1. เด็กวัยเรียนโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบําบัด ร้อยละ 54.1 มีคะแนนคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (=65.48, SD=10.91) 2.เด็กป่วยที่มีอาการอ่อนเปลี้ยระดับต่ำจะมีคุณภาพชีวิตด้าน สุขภาพระดับสูงอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.763, p<.001) ผลการศึกษาครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าอาการอ่อนเปลี้ยเป็นปัจจัยสําาคัญที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของเด็กวัยเ รียนโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัดทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการพยาบาลเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพให้แก่เด็กวัยเรียนโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด รวมทั้งสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาวิจัยต่อไป Health-related quality of life in school-age children with cancer receiving chemotherapy is an important aspect of demonstrating the effects of illness from cancer and chemotherapy on the lives of sick children. This descriptive correlational research studied health-related quality of life, and examined the correlation between fatigue and health-related quality of life in school- age children with cancer receiving chemotherapy. The concept of quality of life for health introduced by Ferrans and colleagues with the literature review was used as the study framework. Participants were children with cancer aged 8 to 12 years receiving chemotherapy in the outpatient department and pediatric ward at three tertiary hospitals, northern Thailand from November 2018 to April 2019. A total of 85 participants were selected. The research instruments included a demographic data form for parents, a demographic data form for sick children, the Multidimensional Fatigue Scale and a Health-related Quality of Life Questionnaire for School-age Children. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s correlation coefficient. The results are as follows. 1.Fifty-four point one percent of school-age children with cancer receiving chemotherapy had a moderate level of health-related quality of life (=65.48, SD=10.91). 2. Sick children with low levels of fatigue will have a high level of health-related quality of life with statistical significance (r=.763, p<.001). his study demonstrated that fatigue is an important factor correlated to perceived health-related quality of life in school-aged children with cancer receiving chemotherapy. These results provide a guideline for nursing planning to promote health-related quality of life in the target group and can also be used as a basis for further research.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอาการอ่อนเปลี้ยen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพen_US
dc.subjectเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งen_US
dc.subjectFatigueen_US
dc.subjectHealth-related quality of liveen_US
dc.subjectschool-age children with canceren_US
dc.titleอาการอ่อนเปลี้ยและคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัดen_US
dc.title.alternativeFatigue and Health-related Quality of Life in School-age Children with Cancer Receiving Chemotherapyen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.