Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71214
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุศรา ลิ้มนิรันดร์กุลen_US
dc.contributor.authorพฤกษ์ ยิบมันตะสิริen_US
dc.contributor.authorช่อผกา ม่วงสุขen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 25, 3 (มิ.ย. 2552), 267-277en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246434/168516en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71214-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractความหลากหลายชีวภาพทางเกษตรเป็นทรัพยากรพื้นฐานค้ำจุนการดำรงชีพของเกษตรกร แนวทางหนึ่งของการศึกษาความยั่งยืนของระบบเกษตร คือ การทำความเข้าใจกับการจัดการความหลากหลายชีวภาพทางเกษตรของเกษตรกรในไร่นา สวนรอบบ้าน และพื้นที่ป่า ซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรชีวภาพที่สนับสนุนการเข้าถึงอาหารและรายได้ของครัวเรือน บทความนี้ได้เสนอผลการศึกษาการจัดการความหลากหลายชีวภาพทางเกษตรของเกษตรกรในภูมินิเวศน์ซึ่งมีข้าวเป็นพืชหลักในจังหวัดพะเยา โดยคัดเลือก 3 ภูมินิเวศน์ที่มีความเข้มข้นของระบบการผลิตแตกต่างกัน ได้แก่ ระบบข้าวอินทรีย์ในนาลุ่มน้ำฝน ระบบเกษตรผสมผสานที่มีสระน้ำในนาลุ่มน้ำฝน และระบบเกษตรเข้มข้นในนาลุ่มชลประทานราษฎร์ เกษตรกรได้มีการจัดการความหลากหลายชีวภาพเพื่อสนองต่อความมั่นคงทางอาหารของครัวเรือนและจัดการเชิงพาณิชย์เพื่อรายได้ ในระบบการผลิตเชิงพาณิชย์ครัวเรือนมีการจัดการอิสระในขณะเดียวกันบางระบบมีการรวมกลุ่มเป็นภาคีกับภาคเอกชน หรือ เกษตรกรผู้นำ เพื่อเชื่อมโยงและเข้าถึงตลาด การจัดการระดับชุมชนจะเด่นชัดในกรณีที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรพื้นที่ป่าซึ่งสมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดกติกาที่นำไปปฏิบัติได้จริง วิถีชีวิตของครัวเรือนเกษตรกรจึงมีความสัมพันธ์กับการไหลของทรัพยากรชีวภาพในภูมินิเวศน์ป่า ไร่นา และสวนรอบบ้าน Agrobiodiversity is the basic resource for sustaining farmers’ livelihoods. One approach of studying sustainability of agricultural systems is to understand farmers’ management of agrobiodiversity in farmland, home gardens, and forest land, which provide bioresources for supporting households’ access to food and income. This paper presents results of the study on farmers’ management of agrobiodiversity in rice-based ecosystems in Phayao province. Three ecosystems with different production intensities were selected, namely organic rice system in rainfed lowland, integrated farming with pond system in rainfed lowland, and intensive lowland rice ecosystem serviced by communal irrigation system. Farmers managed agrobiodiversity to fulfill their needs for food security and income stability through commercial farming practice. Farmers independently managed agrobiodiversity for commercial production, but in certain circumstances, they organized as groups and partners with private sectors, local traders or farmer leaders for market access and entry. Management at community level was more pronounced in the case of managing forest resources when members of community participated in setting up rules and regulations that worked in practice. Farming livelihoods were then related to flow and combine utilization of bioresources between farmlands, homegardens, and forest ecosystems.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความหลากหลายชีวภาพทางเกษตรen_US
dc.subjectการดำรงชีพทางเกษตรen_US
dc.subjectระบบนิเวศน์ข้าวนาลุ่มen_US
dc.subjectAgrobiodiversityen_US
dc.subjectfarming livelihoodsen_US
dc.subjectlowland rice ecosystemsen_US
dc.titleการจัดการความหลากหลายชีวภาพทางเกษตรใน ภูมินิเวศน์นาลุ่มโดยเกษตรกรในจังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternativeManaging of Agrobiodiversity in Lowland Rice Ecosystems of Farmers in Phayao Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.