Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภาวินี จันทร์วิจิตรen_US
dc.contributor.authorธวัชชัย รัตน์ชเลศen_US
dc.contributor.authorนันทรัตน์ ศุภกำเนิดen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 25, 3 (มิ.ย. 2552), 185-189en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246373/168471en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71210-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการทดลองมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาความเข้มข้นของธาตุอาหารในกิ่งส้มสายน้ำผึ้งอายุต่าง ๆ กัน เพื่อที่จะหากิ่งที่เหมาะสมสำหรับใช้ประเมินสถานะธาตุอาหารในพืช โดยสุ่มเก็บตัวอย่างกิ่งอายุ 50, 100 และ 200 วัน จากสวนของเกษตรกร อ. ฝาง จ. เชียงใหม่ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จากนั้นวิเคราะห์ความเข้มข้นของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม เหล็ก แมงกานีส ทองแดง สังกะสี และโบรอนในกิ่งที่เก็บมา ผลการศึกษาพบว่าความเข้มข้นของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม เหล็ก แมงกานีส และทองแดงเพิ่มขึ้นเมื่ออายุกิ่งมากขึ้น แล้วกลับลดลงเมื่อกิ่งมีอายุ 200 วัน ส่วนความเข้มข้นของโพแทสเซียม และสังกะสีในกิ่งจะมีความเข้มข้นลดลงเมื่ออายุกิ่งมากขึ้น แต่ความเข้มข้นของโบรอนในกิ่งมีลักษณะตรงกันข้าม ดังนั้นจึงไม่ควรใช้กิ่งเป็นตัวแทนสำหรับการเก็บตัวอย่างพืช เนื่องจากความเข้มข้นของธาตุอาหารในกิ่งมีความแปรปรวนค่อนข้างสูง The experiment aimed to study the effect of twig age on twig nutrient concentration of tangerine (Citrus reticulata Blanco) cv. Sainampueng in order to establish the appropriate twig index for assessing plant nutrient status. Twigs at 50, 100 and 200 days of age were sampled from the farmer’s orchard in Fang district of Chiang Mai province. Treatments were arranged in completely randomized design. Subsequently, the concentrations of N, P, K, Ca, Mg, Fe, Mn, Cu, Zn and B of sampled twigs were analyzed. The results indicated that concentrations of N, P, Ca, Mg, Fe, Mn and Cu were increased from twigs with age but they were decreased from twigs at 200 days. The concentrations of K and Zn were decreased from twigs with age. B was opposite. The twig should not be sampled and used as index to assess the nutrient status in the plant since there was high variation of all nutrient concentrations in twigs.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอายุกิ่งen_US
dc.subjectความเข้มข้นของธาตุอาหารen_US
dc.subjectส้มสายน้ำผึ้งen_US
dc.subjectTwig ageen_US
dc.subjectnutrient concentrationen_US
dc.subjecttangerine cv. Sainampuengen_US
dc.titleการใช้ความสมดุลธาตุอาหารเพื่อปรับปรุงผลผลิตและคุณภาพของส้มสายน้ำผึ้ง: 4. ผลของอายุกิ่งต่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในกิ่งen_US
dc.title.alternativeUse of Nutrient Balance for Improving Fruit Yield and Quality of Tangerine (<I>Citrus reticulata </I> Blanco) cv. Sainampueng: IV. Effect of Twig Age on Nutrient Concentration in Twigen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.