Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69825
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเกรียงวรา นาวินประเสริฐen_US
dc.contributor.authorประทุม สร้อยวงค์en_US
dc.contributor.authorพิกุล บุญช่วงen_US
dc.date.accessioned2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.available2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42 (พิเศษธันวาคม 2558) 11-23en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57296/47511en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69825-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractปัญหาสำคัญในผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว คือ การเกิดอาการกำเริบที่ต้องทำให้เข้ารับการรักษา และ เสี่ยงต่อการเสียชีวิต ดังนั้นการปฏิบัติกิจกรรมความร่วมมือในการรักษาจึงเป็นสิ่งสำคัญ การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคม ต่อความร่วมมือในการรักษา และการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัดของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มารับบริการที่คลินิก โรคหัวใจ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2555 กลุ่มตัวอย่าง 52 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 26 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะ เจาะจง กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคมโดยได้รับความ รู้ และการฝึกทักษะกิจกรรมความร่วมมือในการรักษาจำนวน 3 ครั้งร่วมกับการส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัว มีส่วนร่วมในการสนับสนุนการปฏิบัติกิจกรรมความร่วมมือในการรักษา และกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาล ตามปกติ ประเมินผลโปรแกรม โดยใช้แบบประเมินความร่วมมือในการรักษาของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว และแบบบันทึกการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัด วิเคราะห์เปรียบเทียบความร่วมมือในการรักษาระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ ทดสอบแมนวิทนีย์ยู และเปรียบเทียบสัดส่วนของการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัดระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่ม ควบคุมโดยใช้สถิติฟิชเชอร์ ผลการวิจัย พบว่า ความร่วมมือในการรักษาของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการ ส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่p<.001 ที่สัปดาห์ที่ 4, 8 และ 12 สำหรับสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่มาตรวจซ้ำก่อน วันนัดของทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคม ทำให้ผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวมีการปฏิบัติกิจกรรมความร่วมมือในการรักษาเพิ่มขึ้น ดังนั้นควรมีการนำกิจกรรมการพยาบาลนี้ผสมผสานกับการพยาบาลตามปกติในการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวรวมทั้งควรมีการศึกษาติดตามผลระยะยาวของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคมนี้ ต่อจำนวนครั้งของการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัด Significant problems among persons with heart failure are the exacerbation of the symptoms requiring hospitalization and risk of death. Thus, adherence to therapeuticregimens is essential to these persons. This quasi-experimental study aimed to examine the effects of self-efficacy and social support enhancement program on adherence to therapeutic regimens as well as hospital revisits for persons with heart failure. The subjects were persons with heart failure attending the Heart Clinic at Chiangrai Prachanukroh Hospital.Fifty-two subjects, purposively selected, were divided into experimental and control groups,26 in each group. Subjects in the experimental group participated in the self-efficacy and social support enhancement program, which included 3 group sessions of health education and skills training in adherence to therapeutic regimen activities plus the promotion of family members to support these activities. The control group received usual care. The program evaluation was used the Adherence to Therapeutic Regimens Questionnaire and the Revisiting to Hospital Form. Comparisons of adherence to therapeutic regimens betweenthe two groups were analyzed using Mann-Whitney U test. The proportions of hospital revisits between the two groups were analyzed using the Fisher’s Exact Test. The results of this study revealed that subjects in experimental group demonstrated statistically significant higher adherence to therapeutic regimens than those of the control group (p<.001) at 4th, 8th, and 12th week after the completion of the intervention. For proportions of hospital revisits, there was no significant difference between two groups. The study findings indicate that the self-efficacy and social support enhancement program enhanced the adherence to therapeutic regimens behavior in persons with heart failure and it is recommended that this program may be integrated into the usual care for persons with health failure. A study to evaluate the long term outcomes of this program on hospital revisits for heart failure should be conducted. ปัญหาสำคัญในผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว คือ การเกิดอาการกำเริบที่ต้องทำให้เข้ารับการรักษา และ เสี่ยงต่อการเสียชีวิต ดังนั้นการปฏิบัติกิจกรรมความร่วมมือในการรักษาจึงเป็นสิ่งสำคัญ การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคม ต่อความร่วมมือในการรักษา และการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัดของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มารับบริการที่คลินิก โรคหัวใจ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2555 กลุ่มตัวอย่าง 52 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 26 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะ เจาะจง กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคมโดยได้รับความ รู้ และการฝึกทักษะกิจกรรมความร่วมมือในการรักษาจำนวน 3 ครั้งร่วมกับการส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัว มีส่วนร่วมในการสนับสนุนการปฏิบัติกิจกรรมความร่วมมือในการรักษา และกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาล ตามปกติ ประเมินผลโปรแกรม โดยใช้แบบประเมินความร่วมมือในการรักษาของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว และแบบบันทึกการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัด วิเคราะห์เปรียบเทียบความร่วมมือในการรักษาระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ ทดสอบแมนวิทนีย์ยู และเปรียบเทียบสัดส่วนของการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัดระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่ม ควบคุมโดยใช้สถิติฟิชเชอร์ ผลการวิจัย พบว่า ความร่วมมือในการรักษาของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการ ส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่p<.001 ที่สัปดาห์ที่ 4, 8 และ 12 สำหรับสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่มาตรวจซ้ำก่อน วันนัดของทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคม ทำให้ผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวมีการปฏิบัติกิจกรรมความร่วมมือในการรักษาเพิ่มขึ้น ดังนั้นควรมีการนำกิจกรรมการพยาบาลนี้ผสมผสานกับการพยาบาลตามปกติในการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวรวมทั้งควรมีการศึกษาติดตามผลระยะยาวของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคมนี้ ต่อจำนวนครั้งของการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัด Significant problems among persons with heart failure are the exacerbation of the symptoms requiring hospitalization and risk of death. Thus, adherence to therapeuticregimens is essential to these persons. This quasi-experimental study aimed to examine the effects of self-efficacy and social support enhancement program on adherence to therapeutic regimens as well as hospital revisits for persons with heart failure. The subjects were persons with heart failure attending the Heart Clinic at Chiangrai Prachanukroh Hospital.Fifty-two subjects, purposively selected, were divided into experimental and control groups,26 in each group. Subjects in the experimental group participated in the self-efficacy and social support enhancement program, which included 3 group sessions of health education and skills training in adherence to therapeutic regimen activities plus the promotion of family members to support these activities. The control group received usual care. The program evaluation was used the Adherence to Therapeutic Regimens Questionnaire and the Revisiting to Hospital Form. Comparisons of adherence to therapeutic regimens betweenthe two groups were analyzed using Mann-Whitney U test. The proportions of hospital revisits between the two groups were analyzed using the Fisher’s Exact Test. The results of this study revealed that subjects in experimental group demonstrated statistically significant higher adherence to therapeutic regimens than those of the control group (p<.001) at 4th, 8th, and 12th week after the completion of the intervention. For proportions of hospital revisits, there was no significant difference between two groups. The study findings indicate that the self-efficacy and social support enhancement program enhanced the adherence to therapeutic regimens behavior in persons with heart failure and it is recommended that this program may be integrated into the usual care for persons with health failure. A study to evaluate the long term outcomes of this program on hospital revisits for heart failure should be conducted.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนen_US
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectความร่วมมือในการรักษาen_US
dc.subjectการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัดen_US
dc.subjectผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวen_US
dc.subjectSelf-efficacy and Social Support Enhancement Programen_US
dc.subjectAdherence to Therapeutic Regimensen_US
dc.subjectRevisiting to Hospitalen_US
dc.subjectHeart Failureen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคมต่อ ความร่วมมือในการรักษา และการมาตรวจซ้ำก่อนวันนัดของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวen_US
dc.title.alternativeEffects of the Self-efficacy and Social Support Enhancement Program on Adherence to Therapeutic Regimens and Revisiting to Hospital among Persons with Heart Failureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.