Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69720
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.authorมนิดา กาวิชัยคาen_US
dc.date.accessioned2020-08-25T01:09:31Z-
dc.date.available2020-08-25T01:09:31Z-
dc.date.issued2020-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69720-
dc.description.abstractObjectives of this study are to study conditions, problems, and recommendations of information management of learning resources and local wisdom, to propose a guideline, and evaluate the efficiency of the guideline for information management of learning resources and local wisdom in Sai Nam Wang school network, Sam Ngao District, Tak Province. Study procedures consist of 3 steps as follows: Step 1 Study of conditions, problems, and recommendations of information management of learning resources and local wisdom in Sai Nam Wang school network, Sam Ngao District, Tak Province. Step 2 Recommendations of the guideline for information management of learning resources and local wisdom in Sai Nam Wang school network, Sam Ngao District, Tak Province. Step 3 Evaluation of the efficiency of guideline for information management of learning resources and local wisdom in Sai Nam Wang school network, Sam Ngao District, Tak Province in terms of correction and appropriation. Results from the study show that 1. Conditions, problems, and recommendations of the guideline for information management of learning resources and local wisdom in Sai Nam Wang school network, Sam Ngao District, Tak Province consists of 5 operating conditions with the levels of high. An operating condition with the level of low is the processing which related to the level of the operating problem, 2. The guideline for information management of learning resources and local wisdom in Sai Nam Wang school network, Sam Ngao District, Tak Province consists of 5 steps to develop the information system which are 1) Data collection, (1.1) Preparation should be planned and a form for data collection should be clear. Responsible persons should be defined and trained continuously, (1.2) Operation, data should be collected systematically. Every process is conducted by using the cooperation of each department continuously. Data needs to be collected from the local directly and schools need to be publicized to acknowledge, 2) Data validation, (2.1) Preparation, the working groups should be defined and the working group needs to be experts in information and have a clear and reliable regulation and process of data validation, (2.2) Operation, the working group is defined to validate data without bias. Information needs to be categorized both of learning resources and local wisdom, 3) Data processing, (3.1) Preparation, plan and procedure should be planned clearly including a form and validation tool, (3.2) operation, experts in data preprocessing and analysis should be appointed. They should use software or technology for processing, 4) Information presentation, (4.1) Preparation, experts in planning and categorizing should be appointed in terms of learning resources and local wisdom. The presentation should be conducted by various methods, (4.2) Operation, primary and secondary data are provided to present actual and updated information to related departments. The public relations should be done variously through media and the efficiency of the presentation needs to be evaluated, 5) Data and information storage, (5.1) Preparation, the standard for information storage and responsible persons should be defined including training of information storage need to be organized which updated and easy to use, (5.2) Operation, information is stored systematically and categorized correctly and clearly, and 3. The result of the evaluation of the efficiency of guideline for information management of learning resources and local wisdom in Sai Nam Wang school network, Sam Ngao District, Tak Province show that it is correct, suitable, and meets the evaluation criteria.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการจัดการสารสนเทศแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ของโรงเรียนในกลุ่มสายน้าวัง อาเภอสามเงา จังหวัดตากen_US
dc.title.alternativeGuideline for Information Management of Learning Resources and Local Wisdom in Sai Nam Wang School Net Work, Sam-Ngao District, Tak Provinceen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และข้อเสนอแนะในการจัดการสารสนเทศแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น เสนอแนวทางและตรวจสอบประสิทธิภาพของ แนวทางการจัดการสารสนเทศแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของโรงเรียนในกลุ่มสายน้าวัง อาเภอสามเงา จังหวัดตาก ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ ปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดการสารสนเทศแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของโรงเรียนในกลุ่มสายน้าวัง อาเภอสามเงา จังหวัดตาก ขั้นตอนที่ 2 การเสนอแนวทางการจัดการสารสนเทศแหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของโรงเรียนในกลุ่มสายน้าวัง อาเภอสามเงา จังหวัดตาก ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบประสิทธิภาพของแนวทางการจัดการสารสนเทศแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของโรงเรียนในกลุ่มสายน้าวัง อาเภอสามเงา จังหวัดตาก โดยตรวจประสิทธิภาพด้านความถูกต้อง และเหมาะสม ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพ ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการสารสนเทศแหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของโรงเรียนในกลุ่มสายน้าวัง อาเภอสามเงา จังหวัดตาก มีสภาพ การปฏิบัติ โดยรวมทั้ง 5 ขั้นตอน อยู่ในระดับมาก โดยขั้นตอนที่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย คือ การประมวลผล ซึ่งสัมพันธ์กับระดับปัญหาของการปฏิบัติ 2. แนวทางการจัดการสารสนเทศแหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของโรงเรียนในกลุ่มสายน้าวัง อาเภอสามเงา จังหวัดตาก ประกอบด้วย การดาเนินงานตามกระบวนการและขั้นตอนในการจัดทาสารสนเทศ 5 ขั้นตอน คือ 1) การรวบรวมข้อมูล (1.1) ขั้นเตรียม ควรมีการวางแผน จัดทาแบบฟอร์มในการรวบรวมข้อมูลที่ชัดเจน ควรกาหนด จ ผู้รับผิดชอบและอบรมให้ความรู้กับบุคลากรอย่างต่อเนื่อง (1.2) ขั้นดาเนินงาน ควรรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ ดาเนินการทุกขั้นตอนโดยอาศัยความร่วมมือของแต่ละฝ่ายอย่างต่อเนื่อง เก็บรวบรวมข้อมูลที่มีการสารวจจากท้องถิ่นโดยตรง รวมถึงประชาสัมพันธ์ให้กับโรงเรียนต่าง ๆ ทราบ 2) การตรวจสอบข้อมูล (2.1) ขั้นเตรียม กาหนดคณะทางานที่มีความรู้เกี่ยวกับสารสนเทศและมีหลักเกณฑ์ กระบวนการในการตรวจสอบข้อมูลที่ชัดเจน เที่ยงตรง เชื่อถือได้ (2.2) ขั้นดาเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมการในการตรวจสอบข้อมูลและไม่มีการลาเอียง จัดและจาแนกข้อมูลสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ทั้งแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 3) การประมวลผลข้อมูล (3.1) ขั้นเตรียม วางแผน กาหนดขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล จัดทาแบบฟอร์มที่ชัดเจน ตลอดจนเครื่องมือใน การตรวจสอบ (3.2) ขั้นดาเนินการ แต่งตั้งบุคลากรที่มีความรู้ด้านการประมวลผล วิเคราะห์ผล ใช้โปรแกรมหรือเทคโนโลยีในการประมวลผล 4) การนาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ (4.1) ขั้นเตรียม จัดให้มีบุคลากรที่มีความรู้ในการวางแผน จาแนกหมวดหมู่ เรียบเรียงข้อมูลแหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และนาเสนอด้วยวิธีที่หลากหลาย (4.2) ขั้นดาเนินการ จัดทาข้อมูลทั้งแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ นาเสนอข้อมูลสารสนเทศที่เป็นจริงและเป็นปัจจุบันต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายผ่านสื่อต่าง ๆ และมีการตรวจประสิทธิภาพของการนาเสนอ 5) การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ (5.1) ขั้นเตรียม กาหนดมาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ กาหนดผู้รับผิดชอบให้ชัดเจน ตลอดจนมีการให้ความรู้ในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นปัจจุบัน และง่ายต่อการสืบค้น (5.2) ขั้นดาเนินการ จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ แยกหมวดหมู่ของข้อมูลให้ถูกต้อง ชัดเจน 3. ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพของแนวทางการจัดการสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของโรงเรียนในกลุ่มสายน้าวัง อาเภอสามเงา จังหวัดตาก พบว่า มีความถูกต้อง เหมาะสม ผ่านเกณฑ์การประเมินen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570232112 มนิดา กาวิชัยคำ.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.