Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69715
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorสิรินภัทร สมพงษ์en_US
dc.date.accessioned2020-08-23T23:55:53Z-
dc.date.available2020-08-23T23:55:53Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69715-
dc.description.abstractThe study on “the Development of Staff Engagement Approach of the Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University” aims to 1) study on the employee engagement level 2) study on factors affecting the employee engagement and 3) study the development of staff engagement approach of the Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University. This is the surveyed research in which the documentary is used. The questionnaires are used to collect data from ninety-six staff. Regarding satisfaction, it is found that the most three commitment levels are the organization’s stability (3.91), the work stability of staff (3.74), and the happy workplace (3.52). The least commitment level is boredom in the workplace (2.65). For loyalty, it is found that the most three commitment levels are the willingness to tell about the workplace (3.96), the staff regularly follows the organization regulations (3.83), and the willingness of staff to sacrifice the personal benefits for the organization (3.52). The least commitment level is the requirement to change the work (2.33). Regarding the factors affecting the commitment level, three areas; duty and responsibility, relationship in the workplace, and rewards, are examined. The results show that the opportunity is given from the supervisors to complete the job assignment (4.00), the capability to fully work (4.00) and the creativity of job improvement (3.91) are the factors that most affect the duty and responsibility of staff. In contrast, the boredom of routine work (2.81) is the factor that the least affects. Next, the three factors affecting the relationship in the workplace the most are the good cooperation from colleagues (3.86), the achievement accomplished by the staff (3.77), and the regular advice from the supervisors (3.74). The factor least affecting in this area is trustworthy in the organization (3.18). Moreover, the factors most affecting the engagement of staff in terms of rewards, are taking pride in the work (3.81), the opportunity to extend knowledge (3.79), and the ability to apply the knowledge gained from the seminar to improve the work (3.76) respectively. The factor least affecting in term of rewards is the organization’s survey for the health welfare (2.72). In conclusion, it is recommended that the Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University to allocate the health welfares such as medical fee, accidental insurance, and fee for an annual health check-up. Also, the explicit guideline in terms of rewarding that is suitable and flexible for the staff, is suggested.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแนวทางการสร้างความผูกพันของบุคลากร คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Development of Staff Engagement Approach of the Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องการพัฒนาแนวทางการสร้างความผูกพันของบุคลากรคณะรัฐศาสตร์และรัฐ ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความผูกพันของบุคลากร คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2)ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพัน ของบุคลากรคณะรัฐศาสตร์ และ 3) ศึกษาการพัฒนาแนวทางการสร้างความผูกพันของบุคลากรคณะ รัฐศาสตร์ฯ วิธีการศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการศึกษาเชิงสํารวจ (Survey Research) ร่วมกับการศึกษาเชิงเอกสาร โดยใช้แบบสอบถามจากประชากร จํานวน 69 คน ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรมีระดับความผูกพันด้านความพึงพอใจมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ องค์กรมีความมั่นคง (3.91) บุคลากรมีความมั่นคงในการทํางาน (3.74) บุคลากรมีความสุขในการ ทํางาน (3.52) และน้อยที่สุดคือ บุคลากรรู้สึกเบื่อหน่ายในการทํางาน (2,65) ระดับความผูกพันด้าน ความจงรักภักดีมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ บุคลากรเต็มใจที่จะบอกว่าฉันทํางานที่ไหน (3.96) บุคลากร ปฏิบัติตามกฎระเบียบขององค์กรอย่างสม่ําเสมอ (3.83) บุคลากรยินดีเสียสละประโยชน์ส่วนตัว เพื่อให้องค์กรก้าวหน้า (3.52) และน้อยที่สุดคือ บุคลากรอยากย้ายสถานที่ทํางาน (2.33) ปัจจัยด้าน บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากรมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ หัวหน้างานเปิดโอกาสให้ตัดสินใจในงานที่ได้รับมอบหมาย (4.00) บุคลากรใช้ความรู้ความสามารถ ในการทํางานอย่างเต็มที่ (4.00) บุคลากรมีการคิดหาวิธีการใหม่ ๆ ในการปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้น (3.91) และส่งผลน้อยที่สุด ได้แก่ บุคลากรรู้สึกเบื่อหน่ายที่ต้องทํางานซ้ําซาก (2.81) ปัจจัยด้าน ความสัมพันธ์ในที่ทํางานที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากรมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ บุคลากรมัก ได้รับความร่วมมือจากเพื่อนร่วมงานอยู่เสมอ ๆ (3.86) ทีมงานขององค์กรสามารถทํางานบรรลุผลสําเร็จตามที่กําหนดเป้าหมายไว้ได้ (3.77) หัวหน้างานให้คําปรึกษาในการทํางานอย่างสม่ําเสมอ (3.74) และส่งผลน้อยที่สุด ได้แก่ ทุกคนในองค์กรมีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน (3.18) ปัจจัยด้าน รางวัลที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากรมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ บุคลากรมีความภูมิใจงานที่ทํา (3.81) องค์กรเปิดโอกาสให้บุคลากรได้ต่อยอดความรู้ในการทํางาน (3.79) บุคลากรนําทักษะที่ได้รับ จากการฝึกอบรมมาพัฒนางาน (3.76) และส่งผลน้อยที่สุด ได้แก่ องค์กรมีการสอบถามความต้องการ เกี่ยวกับสวัสดิการที่ควรจัดสรรให้บุคลากร (272) ดังนั้นคณะรัฐศาสตร์ฯ ควรจะต้องพิจารณา แนวทางเพื่อจัดสรรสวัสดิการด้านสุขภาพ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ประกันอุบัติเหตุ และค่าตรวจสุขภาพ ประจําปี หรือมีแนวทางการให้รางวัลแก่บุคลากรที่เป็นรูปธรรม มีความยืดหยุ่นและหลากหลายของ บุคลากรมากขึ้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932065 สิรินภัทร สมพงษ์.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.