Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69707
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Atichart Harncharnchai-
dc.contributor.authorWu Jianxinen_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:51:56Z-
dc.date.available2020-08-21T00:51:56Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69707-
dc.description.abstractIt is significant for international enterprises which wants to enter into foreign market to localize their brand name in local language, especially in China. Chinese culture differs greatly from the other culture in the world and Chinese customers concerns a lot about the cultural association of a brand name. Thus the translation of foreign brand name into Chinese language demands the consideration of multiple factors. Through dual analysis of current Thai snack brand name translation in Chinese market by both text and type, the main problem is identified as low customer perceived value. The objective of this research is to capture knowledge from customers to help the companies to translate their brand name with higher customer perceived value. Questionnaire is designed under the theory of dual-code in customer cognitive process of brand name and the tool of Kano Model is adopted to analyze the data of recovering questionnaire. Ninety-three valid respondents are collected through mobile web page, WeChat and online snack community channels. A knowledge guide composes of knowledge-based taxonomy, knowledge-based workflow and related knowledge storage is developed as the final output to help increase customer perceived value of brand name translation in real practice. Applying knowledge guide using 3 groups of Pairedsample t-test statistics in translation process reveals that has a significant impact on customer perceived value of brand name translation.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleKnowledge Guide for Thai-Chinese Brand Name Translation of Snack Fooden_US
dc.title.alternativeคู่มือความรู้การแปลชื่อตราสินค้าไทย-จีนของขนมขบเคี้ยวen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractองค์กรระดับนานาชาติที่ประสงค์เข้าสู่ตลาดสากลต่างให้ความสําคัญในการใช้ตราสินค้าด้วย ภาษาท้องถิ่น โดยเฉพาะในประเทศจีนซึ่งมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกับวัฒนธรรมประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก ทั้งนี้คนจีนให้ความสําคัญเป็นอย่างสูงของความหมายชื่อตราสินค้าที่ต้องสัมพันธ์กับวัฒนธรรม ดังนั้น การแปลชื่อตราสินค้าต่างประเทศให้เป็นภาษาจีน จะต้องคํานึงถึงปัจจัยด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างมาก จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้รหัสคู่ของการแปลสินค้าขนมขบเคี้ยวจากประเทศไทย ในตลาดจีนจากชื่อและประเภทสินค้าพบปัญหาหลัก คือ การรับรู้คุณค่าของลูกค้าอยู่ในระดับต่ํา การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ การสกัดความรู้จากลูกค้า เพื่อให้บริษัทสามารถนําไปใช้ ในการแปลชื่อตราสินค้าที่จะส่งผลต่อการรับรู้คุณค่าของลูกค้าในระดับที่สูงขึ้น แบบสอบถาม ถูกออกแบบโดยใช้ทฤษฎีรหัสคู่ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการรับรู้ของลูกค้าต่อชื่อตราสินค้า โมเดลของคาโนถูกนํามาใช้เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลจากลูกค้าที่รวบรวมขึ้นจากแบบสอบถาม โดยใช้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 93 คน ผ่านเว็บเพจบนมือถือ แอปพลิเคชัน Wechat และช่องทางออนไลน์ ของสินค้าขนมขบเคี้ยว คู่มือความรู้ซึ่งประกอบด้วยอนุกรมวิธานฐานความรู้ การไหลเวียนของงาน และฐานจัดเก็บความรู้ ได้รับการพัฒนาขึ้นเป็นผลลัพธ์สุดท้าย เพื่อช่วยให้มุมมองด้านคุณค่าของลูกค้า ต่อการแปลชื่อตราสินค้าในการนําไปปฏิบัติจริง ผลการวิเคราะห์จากการใช้คู่มือความรู้ในการแปลชื่อ ตราสินค้า โดยใช้สถิติ Paired-sample t-test จํานวน 3 กลุ่ม พบว่า ส่งผลกระทบต่อการรับรู้คุณค่า ของลูกค้าอย่างมีนัยสําคัญen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612132023 JIANXIN WU.pdf7.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.