Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69670
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLect.Dr.Nachatchapong Kaewsompong-
dc.contributor.advisorLect.Dr.Woraphon Yamaka-
dc.contributor.advisorAsst.Prof.Dr.Chaiwat Nimanussornkul-
dc.contributor.authorXiao Lien_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:49:33Z-
dc.date.available2020-08-19T08:49:33Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69670-
dc.description.abstractThis paper aims to quantify and compare value at risk, conditional value at risk as well as the returns between stock-non green bond and stock-green bond portfolios. And find the portfolios weights allocation. Using the daily closing prices of Shanghai Composite Index, Shenzhen composite index, 21 treasury bonds (7), 16 R&F 11 corporate bond, SSE green bond index as the original data, construct three investment portfolios of stocks and different bond portfolios. The study employs the DCC-GARCH and uses the Monte Carlo simulation technique to generate the simulated data to calculate Value at Risk (VaR), Conditional Value at Risk (CVaR) and Sharpe ratio of the three portfolios. Our result show that the risk of portfolio 3 is the lowest, and that of portfolio 2 is the highest, which shows that adding green bonds to portfolio can reduce the risk of portfolio more effectively than treasury bonds and corporate bonds. And through the calculation of the Sharpe ratio, we know that portfolio 3 has better performance. For each additional unit of risk, the portfolio will gain an excess return of 0.25%. The portfolio 3 allocation is 0.11% of SSE, 0.19% of SZSE, and 99.70% of G. BONDwhereriskandreturnoftheportfolioare0.08%and0.02%,respectivelyen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleComparing Returns and Risks of Portfolio with Green Bond and Without Green Bonden_US
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบผลตอบแทนและความเสี่ยงของพอร์ทฟอลิโอที่มีพันธบัตรสีเขียวและไม่มีพันธบัตรสีเขียวen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดในเชิงปริมาณและเปรียบเทียบมูลค่าความเสี่ยง มูลค่า ความเสี่ยงแบบมีเงื่อนไข รวมถึงผลตอบแทนระหว่างพอร์ทฟอลิโอที่ไม่มีพันธบัตรสีเขียวและมี พันธบัตรสีเขียว รวมถึงการค้นหาการจัดสรรน้ําหนักพอร์ตการลงทุน ผู้วิจัยได้สร้างพอร์ตการลงทุน จํานวนสามหุ้นและพอร์ตการลงทุนพันธบัตรที่แตกต่างกัน โดยใช้ราคาปิดรายวันของดัชนีเซี่ยงไฮ้ คอมโพสิต, ดัชนีคอมโพสิตเซินเจิ้น, 21 พันธบัตรตัวเงินคลัง (7), หุ้นกู้องค์กร 16 R&F 11 และดัชนี พันธบัตรเขียว SSE เป็นข้อมูลดั้งเดิม การศึกษานี้ได้ปรับใช้แบบจําลอง DCC-GARCH และเทคนิค การจําลองแบบมอนติคาร์โลเพื่อสร้างข้อมูลจําลองเพื่อคํานวณมูลค่าความเสี่ยง (VaR), มูลค่าตาม ความเสี่ยงแบบมีเงื่อนไข (CVaR) และอัตราส่วนชาร์ปของพอร์ตการลงทุนทั้งสามพอร์ต ผลการวิจัย แสดงให้เห็นว่าความเสี่ยงของพอร์ตโฟลิโอ ที่ 3 นั้นต่ําที่สุด ในขณะที่พอร์ตโฟลิโอที่ 2 นั้นมีค่าความ เสี่ยงสูงที่สุด ซึ่งแสดงว่าการเพิ่มพันธบัตรสีเขียวเข้ากับพอร์ตโฟลิโอสามารถลดความเสี่ยงของพอร์ต โฟลิโอได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าพันธบัตรตัวเงินคลัง จากการคํานวณอัตราส่วนชาร์ป พบว่า พอร์ตโฟลิโอที่ 3 มีประสิทธิภาพดีกว่า สําหรับแต่ละหน่วยความเสี่ยงเพิ่มเติมตัวพอร์ตจะได้รับผล ตอบแทนเกิน 0.25% การจัดสรรของพอร์ตโฟลิโอที่ 3 คือ 0.11% ของ SSE, 0.199% ของ SZSE และ 99.70% ของ G, BOND โดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของพอร์ตมีค่าเท่ากับ 0.05% และ 0.02% ตามลําดับen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611635821 XIAO LI.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.