Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69658
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ศิวพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ บุญเชียง-
dc.contributor.authorนรินทร สุขเกษมen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:48:30Z-
dc.date.available2020-08-19T08:48:30Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69658-
dc.description.abstractThis Mix Method Research aims to study a reasonable antibiotic use behavior in among outpatients. The population used in this study are 400 outpatients in community hospitals, Chiang Mai Province, receiving antibiotics, and 20 people are used for the qualitative research. The tools used in the study are a questionnaire for the reasonable antibiotic use behavior and a non-structural interview which is an open-ended question which the content validity is verified by 5 experts. The content validity index was 0.82 and the reliability was 0.74. The data were analyzed by using the descriptive statistics such as number, percentage, mean and standard deviation. The study results showed that; The most reasonable antibiotic use behavior is in a good level. The top 3 behaviors includes that 1) Never use or grind antibiotics to apply on the wound directly for healing (80.25%), 2) Never taking expired antibiotics (75.50%), and 3) In the past 1 month, never taking antibiotics more than 2 times (70.25%) respectively. The interview results showed that the most of the samples know antibiotics, but often called "Disinfectant" or "Anti-inflammatory drug", and use to treat sore throat or urinary tract infection. In term of medicine storage, they able to answer all questions completely, and continue to take the medicine every day until the medicine runs out. The suggestions from the research can be used as basic information for analyzing the reasonable antibiotic use behavior in community hospitals and developed to be in accordance with reasonable drug use guidelines further.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกen_US
dc.title.alternativeRational Antibiotic Use Behavior of Outpatientsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาชิงผสมผสาน (Mix Method Research) นี้มีวัตถุประสงค์พอพฤติกรรมการใช้ยา ปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผลในผู้ที่มารับบริการผู้ป่วยนอก ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือผู้ที่มา รับบริการผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ จำนวน 400 คน และ การวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 20 คน เครื่องมือทที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้ยา ปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ละแบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างเป็นคำถามปลายปิด โดยผ่านการ ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.82 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.74 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี โดยพบ 3 ลำดับแรกคือ ไม่เคยนำยาปฏิชีวนะมาแกะหรือบดเพื่อโรยบาดแผล (ร้อยละ 80.25) ไม่เคยนำยาปฏิชีวนะที่หมดอายุ แล้วมารับประทาน (ร้อยละ 75.50) น 1 เดือนผ่านมาไม่ได้รับประทานยาปฏิชีวนะมากกว่า 2 ครั้ง (ร้อยละ 70.25) ตามลำดับ ผลการสัมภาษณ์พบว่าส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างรู้จักยาปฏิชีวนะ ต่มักจะเรียกว่า “ยาฆ่าเชื้อ” หรือ “ยาแก้อักเสบ” โดยใช้ในการแก้อาการเจ็บคอ การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ด้านการเก็บรักษายา สามารถตอบคำถามได้อย่างครบถ้วน ละติดต่อกันทุกวันจนหมด ข้อเสนอแนะจากการวิจัยสามารถนาไปเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลชุมชน ละพัฒนาให้เป็นไปตามแนวทางการใช้ยาอย่าง สมเหตุผลต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
582232024 นรินทร สุขเกษม.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.