Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69653
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Kanchana Chokthaworn-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Anuphak Saosaovaphak-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Chukiat Chaiboonsri-
dc.contributor.authorPeemapol Kanajoeten_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:48:05Z-
dc.date.available2020-08-19T08:48:05Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69653-
dc.description.abstractAccording to United Nation (UN) data, Thailand population is estimated at 69,625,582 people at midyear. Thailand population is equivalent to 0.9 percent of the total world population that are included employment and unemployment. Thailand is known for its tolerance of the transgender community, though the transgender still against in society especially in term of employment in workplace despite legislative and social efforts to achieve equality of transgender. This study aimed to analyze of factors affecting on transgender employment in the Thai labor market for increasing jobs opportunity in transgender group. The relevant approach for this study were a transgender who are employed person. The study was carried on with 400 samples by using questionnaire asking strategy. On the other hand, there was majors important in the degrees of satisfaction with the three type of instructions in each of programs as confirmed by the conclusion to hypothesis that why the authors decided to using the Structure Equation Model (SEM) to finding the results of hypothesis. The research discovered that the personality factors especially external appearance of transgender had a significant impact on the employment of transgender. According to the analysis from the sample group of 400 people, it could be noticed that Chi-square=137.464, df=99, p=0.006, CMIN/DF=1.389, GFI=0.959, RMSEA=0.031, which corresponded with the analysis of Structure Equation Model (SEM). From the result of SEM, it could come up g to the conclusion that factors mentioned by researcher had influenced the process of job recruitment for the transgender. To gain higher chance of being accepted for the position, transgender people could consider these factors for their self-improvement to the better job opportunity and advancement in their career path. At the end of the thesis, combined with the research process and the research results, some management suggestions were put forward for transgender group, governments section, Organization section and the research shortcomings and prospects of this paper were summarizeden_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleAnalysis of Factors Affecting on Transgender Employment in the Thai Labor Marketen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ปัจจยัที่ส่งผลกระทบต่อการจ้างงานของเพศที่สามในตลาดแรงงานไทยen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractประชากรชาวไทยมีจำนวนมากกว่า 69,625,582 โดยการสำรวจจากองค์การสหประชาชาติเมื่อ กลางปีที่ผ่านมาหรือคิดเป็นร้อยละ 0.9 ของประชากรทั้งหมดของประเทศซึ่งประกอบไปด้วยผู้มีงานทำและไม่มีงานทำ ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีอิสรเสรีในการแสดงออกแต่กลุ่มสาวประเพศสองยังคงถูก กีดกันจากสังคมโดยเฉพาะในเรื่องของการจ้างงานภายในองคก์รต่างๆแม้ว่าจะมีกฎหมายรองรับความเท่าเทียมกันในสังคม จุดประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้คือการวิเคราะห์ตัวแปรที่มีผลต่อการได้รับการจ้างงานของ กลุ่มสาวประเพศสองในตลาดแรงงานไทยเพื่อเพิ่มโอกาสในการรับเข้าทำงานของสาวประเพศสองมาก ขึ้น โดยกลุ่มตัวอย่างของการศึกษาในครั้งนี้จะเป็นสาวประเพศสองจำนวน 400 คนและเป็นผู้ที่มีงานทำแล้วเท่านั้นโดยใช้วิธีสำรวจแบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลโดยโมเดลสมการโครงสร้างเพื่อหา ความสัมพันธ์ของสมมุติฐาน จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลโดยเฉพาะลักษณะภายนอกของสาวประเพศสองมีความสำคัญที่ส่งผลต่อการจ้างงานของสาวประเพศสองมากที่สุด จากการวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างจา นวน 400 คน พบว่าค่าไคสแควร์เท่ากบั 137.464, ค่าไคสแควร์สัมพันธ์เท่ากับ 0.99, ค่าระดบัความน่าจะเป็น ของไคสแควร์เท่ากบั 1.389, คคค่าดัชนีวัดความสอดคล้องเท่ากับ 0.959 และค่าดัชนีรากค่าเฉลี่ยกำลังสอง ของการประมาณค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.031 โดยการวิเคราะห์จากโมเดลสมการโครงสร้าง สามารถสรุปได้ว่าปัจจัยต่างๆในการศึกษาในครั้งนี้ได้แก้ปัจจัยขององค์กร, ปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัย ทางด้านจิตวิทยามีผลต่อการจ้างงานของสาวประเพศสอง เพื่อเพิ่มโอกาสในการได้งานทำของสาวประเพศสองมากขึ้นนั้น กลุ่มสาวประเพศสองจะต้องพัฒนาตัวเองมากขึ้นเพื่อโอกาสในการจ้างงานที่มาก ยิ่งขึ้นไป สุดท้ายนี้สำหัรับวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้มีกระบวนการวิเคราะห์และหาคำตอบของสมมุติฐานและ ได้มีการแนะนำเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้ารับสมัครงานมากยิ่งขึ้นสำหรับกลุ่มสาวประเพศสอง คาำแนะนำ สำหรับหน่วยงานราชการเพื่อความเท่าเทียมกนัในสังคมและโอกาสของสาวประเพศสองพึงได้รับมาก ยิ่งขึ้นและได้มีการแนะนำองค์กรต่างๆของไทยเพื่อให้เข้าใจและเปิดรับกลุ่มสาวประเพศสองมากยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601635908 ภีมพล คณาโจทย์.pdf7.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.