Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69630
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProf. Dr. Songsak Sriboonchitta-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Woraphon Yamaka-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Paravee Maneejuk-
dc.contributor.authorFeihong Wangen_US
dc.date.accessioned2020-08-18T02:44:17Z-
dc.date.available2020-08-18T02:44:17Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69630-
dc.description.abstractThe economic growth has promoted the development of China's urbanization as well as optimizing and upgrading its industrial structure. However, the situation of environmental pollution has become increasingly severe. This study examines the relationship between urbanization and industrial structure in China considering 30 provinces from the period 2005-2017. This study uses the panel kink regression model to find two threshold points of urbanization and industrial structure and thereby 3-regime model is considered. Several estimations, namely pooling, fixed, and random, are considered an the Akaike information criterion (AIC) method is used to select the best fit model. According to the empirical test, we find that: (1) The relationship between industrial structure and environmental pollution is nonlinear and shown as an inverted N-shaped. When the industrial structure has upgraded to a certain degree, it can reduce wastewater discharge from environmental pollution. (2) Urbanization is positively related to environmental pollution in three different regimes. Owing to the mode of urbanization development in China, the continuous process has brought more and more pollution to the environment. (3) This paper also considers three control variables, namely trade openness, environmental investment, and technology. Among them, environmental investment and technology has a positive relationship with environmental pollution, while the trade openness has a negative relationship with pollution.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleThe Impact of Urbanization and Industrial Structure on Environmental Pollution in Chinaen_US
dc.title.alternativeผลกระทบของความเป็นเมืองและโครงสร้างอุตสาหกรรมที่มีต่อมลพิษทางสิ่งแวดล้อมในประเทศจีนen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจัยการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนได้ส่งเสริมการพัฒนาเมืองรวมถึงการปรับปรุงและยกระดับโครงสร้างอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตามสถานการณ์มลภาวะทางสิ่งแวดล้อมมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การวิจัยครั้งนี้เป็นการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นเมืองและโครงสร้างอุตสาหกรรมในประเทศจีนโดยพิจารณาจาก 30 มณฑลในช่วงปี 2548-2560 การศึกษาครั้งนี้ใช้ Panel Kink Regression Model เพื่อหาจุดเริ่มต้นสองจุดของความเป็นเมืองและโครงสร้างอุตสาหกรรม ซึ่งส่งผลให้มีการพิจารณาแบบจำลองจำนวน 3 ระบอบการปกครอง การประมาณค่าหลายรูปแบบ เช่น การประมวณผลโดยรวม การประมาณผลแบบคงที่ และ การประมวณผลแบบสุ่ม ล้วนถือเป็นวิธีการ Akaike data criterion (AIC) ที่ใช้ในการเลือกแบบจำลองที่เหมาะสมที่สุด จากการทดสอบเชิงประจักษ์พบว่า: (1) ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างอุตสาหกรรมและมลภาวะสิ่งแวดล้อมนั้นไม่เป็นเชิงเส้นและแสดงตัวเป็นรูปตัว Nกลับด้าน เมื่อโครงสร้างอุตสาหกรรมได้รับการพัฒนาไปในระดับหนึ่งก็จะสามารถลดการปล่อยน้ำเสียจากมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม (2) การกลายเป็นเมืองมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับมลภาวะสิ่งแวดล้อมภายใต้ 3 ระบอบการปกครองที่แตกต่างกัน สภาวะมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมมีการเกิดมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากรูปแบบของการพัฒนาเมืองในประเทศจีนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (3) วิจัยฉบับนี้ได้พิจารณาตัวแปรควบคุมสามปัจจัย ได้แก่ ความเปิดกว้างทางการค้า การลงทุนด้านสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี ในกลุ่มตัวแปรข้างต้น การลงทุนด้านสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับมลภาวะสิ่งแวดล้อม ในขณะที่การเปิดกว้างการค้ากลับมีความสัมพันธ์เชิงลบen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611635804 Feihong Wang.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.