Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69595
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDr. Wan Wiriya-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Somporn Chantara-
dc.contributor.authorPatcharee Saejiwen_US
dc.date.accessioned2020-08-17T01:43:57Z-
dc.date.available2020-08-17T01:43:57Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69595-
dc.description.abstractChiang Mai Province is located in a basin and therefore experiences an annual increase of air pollutants particularly particulate matters with an aerodynamic less than or equal to 2.5 µm (PM2.5) during the dry season. The main source of air pollution in this area is open burning. This study aims to analyse ion composition of ambient PM2.5 during open burning season for source identification. The PM2.5 samples (24-hour sampling) were collected by using a mini-volume air sampler with a flow rate of 5 L/min during 13 February – 30 April 2018. A sampling station is located in the sub-urban area of Chiang Mai city surrounded by agricultural fields. The samples (n=71) were extracted in deionized water and analysed for their ion composition by ion chromatography. An average PM2.5 concentration was 45.5 ± 25.7 µg/m³, while min – max values were 7.0 – 185 µg/m³ . About 31 % (22 days) of the sampling showed that 24-hour average PM2.5 concentration was higher than Thailand ambient air quality standard (50 µg/m³). Dominant ion species of PM2.5 were sulfate (6.75±3.05µg/m³), ammonium (2.06±1.10 µg/m³) and nitrate ( 2.04±0.67 µg/m³). Potassium ion (biomass burning tracer) was also found (0.42±0.91 µg/m³). PM2.5 mass concentration was well correlated with nitrate and potassium (r~0.7) indicating that they were mainly generated from biomass burning. Sulfate and ammonium were also well correlated (r=0.67) showing the influence of photochemical reactions. The positive correlations revealed various forms of major compounds (i.e.,(NH4) 2SO4 and KNO3). Principal Component Analysis (PCA) of ions identified various sources of PM2.5 in this area including biomass burning, traffic emission, agricultural activity, and soil dust.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleAnalysis of Ion Composition of Ambient PM2.5 During Burning Season in Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์องค์ประกอบไอออนของฝุ่นพีเอ็ม2.5 ในอากาศ ช่วงฤดูการเผาในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจังหวัดเชียงใหม่เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นแอ่งกระทะ ซึ่งในแต่ละปีจะพบค่า อนุภาคฝุ่นละเอียดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 2.5 ไมโครเมตร (พีเอ็ม2.5) เพิ่มขึ้นในช่วงฤดูแล้ง โดยมี สาเหตุหลักมาจากการเผาในที่โล่ง ซึ่งก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหา ความเข้มข้นของพี่เอ็ม2.5 หาองค์ประกอบไอออนของฝุ่นพี่เอ็ม2.5 และความสัมพันธ์ของปริมาณ ไอออนที่เป็นองค์ประกอบของฝุ่นพีเอ็ม2.5 กับความเข้มข้นของฝุ่นพีเอ็ม2.5 ในช่วงฤดูการเผา ของ จังหวัดเชียงใหม่ โดยทําการเก็บตัวอย่างฟุ่นพี่เอ็ม2.5 รายวัน ในช่วงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 30 เมษายน 2561 ด้วยเครื่องเก็บอากาศปริมาตรต่ํา และทําการวิเคราะห์ตัวอย่างโดยการสกัดด้วย น้ําปราศจากไอออน โดยใช้เครื่องโซนิเคเตอร์ และวิเคราะห์หาปริมาณไอออนโดยใช้เทคนิคไอออน โครมาโตกราฟี จากการเก็บตัวอย่างความเข้มข้นของฝุ่นพีเอ็ม2.5 มีค่า 45.5 +25.7 ไมโครกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร และมีค่าสูงสุดต่ําสุดอยู่ที่ 7-185 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร โดยค่าความเข้มข้นฝุ่นพี่ เอ็ม2.5 เกินค่ามาตรฐานที่ประเทศไทยกําหนดคือ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จํานวน 22 วัน (คิดเป็นร้อยละ 31) ค่าความเข้มข้นฝุ่น พีเอ็ม2.5 เฉลี่ยรายเดือนมีนาคมและเมษายน คือ 52.42 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรและ 47.43 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลําดับ ปริมาณไอออน บวกรวมทั้งหมด (9.1743.56 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) มีค่าสูงกว่าปริมาณไอออนลบรวมทั้งหมด (4.08s1.62 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ไอออนเด่นที่พบมากที่สุด คือ ซัลเฟต (6.75 + 3.05 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) แอมโมเนียม (2.061.10ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) และ ไนเตรต (2.0450.67 ไมโครกรัมต่อลูกบาสก์เมตร) และยังพบว่า โพแทสเซียมไอออน (0.9150.42 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ที่เป็นตัวบ่งชี้หลักว่าฝุ่นในอากาศมาจากการเผาชีวมวลมีค่าความสัมพันธ์เชิงบวกค่อนข้างสูง (r ~ 0.7) นอกจากนี้ยังพบไอออนอื่นที่สําคัญคือ ซัลเฟตและ แอมโมเนียม ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการเกิดปฏิกิริยาเคมีเชิงแสงในบรรยากาศ ซึ่งจากค่าความสัมพันธ์เชิง บวกนี้สามารถแสดงสารประกอบในรูปแบบต่างๆ ของสารประกอบที่สําคัญ เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต และโพแทสเซียมไนเตรต และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก(พีซีเอ) ของไอออน สามารถระบุถึง แหล่งที่มาของฝุ่นพีเอ็ม2.5 ในบริเวณนี้ว่าเกิดจากการเผาไหม้ชีวมวล การจราจร กิจกรรมจาก การเกษตรและฝุ่นจากดินen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590531053 พัชรี แซ่จิ้ว.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.