Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69536
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์สร้อยสุดา วิทยากร-
dc.contributor.authorภทรา นาพนังen_US
dc.date.accessioned2020-08-14T03:01:32Z-
dc.date.available2020-08-14T03:01:32Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69536-
dc.description.abstractThis study were a single subject design with A-B-A-B design that aimed to determine the result of the TEACCH program use and positive reinforcement to increase self-regulation of a preschool child with autism. The case study was selected by purposive sampling, a 5 year-old boy, who was treated at the Child Psychiatric Unit, Maharaj Nakhon Chiang Mai Hospital. The instruments used in this study included the reinforcement assessment form, the observation prompt form, the individualized education plans, the materials of TEACCH program and video recorder. These instruments were developed by the researcher and all instruments have been seeking an index of item–objective congruence (IOC) from the experts. Data was analyzed by using simple statistics and descriptive statistics. This research has been certified from the ethics committee review board. (Study code: NONE-2561-05951) The results showed that the teacher's prompting score steadily decreased, the baseline (A1) had a prompting score of 2.69, the first treatment period (B1) had a prompting score of 1.67, the treatment withdrawal (A2) had a prompting score of 1.59 and the second treatment period (B2) had a prompting score of 1.15. These results signify that self-regulation of the case study increase after using the TEACCH program and positive reinforcement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้โปรแกรมทีช และการเสริมแรงทางบวกเพื่อเพิ่มการกำกับตนเองของเด็กปฐมวัยที่มีภาวะออทิซึมen_US
dc.title.alternativeUsing the TEACCH Program and Positive Reinforcement to Increase Self-Regulation of a Preschool Child with Autismen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่างเดี่ยวแบบ A-B-A-B มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้โปรแกรมทีช และการเสริมแรงทางบวกเพื่อเพิ่มการกำกับตนเองของเด็กปฐมวัยที่มีภาวะออทิซึม กรณีศึกษาได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เป็นเด็กชาย อายุ 5 ปี ที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยจิตเวชเด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบประเมินตัวเสริมแรง 2) แบบสังเกตการกระตุ้นเตือน 3) แผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะบุคคล 4) การออกแบบพื้นที่ การเลือกสื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ในโปรแกรมทีช และ 5) วิดีทัศน์ เครื่องมือทั้งหมดได้ผ่านการหาค่าดัชนีความสอดคล้องจากผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติอย่างง่ายและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยาย งานวิจัยนี้ผ่านการรับรองการวิจัยในมนุษย์หมายเลข NONE-2561-05951 ผลการศึกษา พบว่า คะแนนการกระตุ้นเตือนของครูต่อกรณีศึกษาลดลงตามลำดับ ดังนี้ ระยะเส้นฐาน (A1) มีคะแนนการกระตุ้นเตือน เท่ากับ 2.69 ระยะจัดกระทำครั้งที่ 1 (B1) มีคะแนนการกระตุ้นเตือน เท่ากับ 1.67 ระยะถอดถอน (A2) มีคะแนนการกระตุ้นเตือน เท่ากับ 1.59 และระยะจัดกระทำครั้งที่ 2 (B2) มีคะแนนการกระตุ้นเตือน เท่ากับ 1.15 แปลผลย้อนกลับได้ว่ากรณีศึกษากำกับตนเองได้ดีขึ้นหลังใช้โปรแกรมทีช และการเสริมแรงทางบวกen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600232080 ภทรา นาพนัง.pdf3.25 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.