Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69530
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร. สรณะ สมโน-
dc.contributor.advisorรศ.ดร. เกวลิน คุณาศักดากุล-
dc.contributor.authorปิยะฉัตร์ สุนันต๊ะen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T02:01:21Z-
dc.date.available2020-08-12T02:01:21Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69530-
dc.description.abstractThe research aims of this study were to investigate effect of genetic variation and initial moisture content on black garlic quality. The genetical variation displayed by dendrogram among 6 garlic samples using Random Amplification of Polymorphic DNA (RAPD) with 12 primers (10 bp) indicated that the samples could be categorised into three groups, the first group included garlic sample cultivated in Chiang mai. The second cluster contained garlic samples from Chiang rai, Lamphun, Lampang and Mae-hongsorn provinces while the Chinese type was separated into different cluster. After black garlic processing, the Chiang mai’s black garlic had the highest pH (4.04) and Chinese’s black garlic had the highest moisture content (53%). The data was analysed by principle component analysis and indicated that the genetic variation had no influence on the physical properties and chemical properties of black garlic. For the effect of initial moisture content of raw material, the initial moisture content had forthright effect on both physicochemical and chemical properties, lower initial moisture content provided the final product with black-colour, sweet-taste, elastic texture, lower pH with 10 -fold-higher antioxidant activity than those of higher moisture content. The result from this study can be of higher appreciation for food processors as to set the standard control of raw material for black garlic qualities.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของพันธุกรรมและความชื6นเริEมต้นต่อคุณภาพกระเทียมดำen_US
dc.title.alternativeEffect of Genetic and Initial Moisture Content on Black Garlic Qualitiesen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของสายพันธุ์และความชื้นเริ่มต้นของวัตถุดิบกระเทียม ต่อคุณภาพกระเทียมดํา จากการจําแนกความแตกต่างทางพันธุกรรมของกระเทียมสดจากแหล่ง เพาะปลูกที่แตกต่างกันจํานวน 6 ชนิดตัวอย่างด้วยวิธี Random Amplification of Polymorphic DNA (RAPD) โดยใช้ primer ความยาว 10 คู่เบส จํานวน 12 primers และคํานวณความสัมพันธ์ของตัวอย่าง โดยใช้เทคนิคการจัดกลุ่มแบบลําดับชั้นพบว่า สามารถจําแนกกลุ่มของตัวอย่างกระเทียมออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกประกอบด้วยกระเทียมที่เพาะปลูกในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มที่สองประกอบด้วย กระเทียมที่เพาะปลูกในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ลําพูน ลําปาง และแม่ฮ่องสอน ส่วนกลุ่มสุดท้ายคือ กระเทียมที่มีการนําเข้าจากสาธารณรัฐประชาชนจีน หลังจากนํากระเทียมจากแหล่งต่าง ๆ มาแปรรูป เป็นกระเทียมดําและทดสอบคุณภาพด้านกายภาพและเคมี พบว่ากระเทียมดําเชียงใหม่มีค่าความเป็น กรดด่างสูงที่สุด (4,04) และกระเทียมดําจีนมีปริมาณความชื้นสูงที่สุด (53%) จากนั้นนําข้อมูลมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบหลักโดยพบว่าสายพันธุ์กระเทียมไม่ มีมีผลต่อลักษณะทางกายภาพและลักษณะทางเคมีของกระเทียมดํา ในการศึกษาผลของความชื้น เริ่มต้นของวัตถุดิบโดยใช้วัตถุดิบเริ่มต้นที่มีปริมาณความชื้นแตกต่างกันพบว่าความชื้นเริ่มต้นของ วัตถุดิบส่งผลต่อลักษณะทางเคมีและกายภาพของกระเทียมคํา ได้แก่ ความเป็นกรดต่าง ความแน่นเนื้อ ความเข้มสี และปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ โดยการใช้วัตถุดิบกระเทียมที่มีความชื้นต่ําใน กระบวนการแปรรูป ผลิตภัณฑ์กระเทียมดําที่ผลิตได้มีเนื้อเหนียวนุ่ม มีสีดําสนิท และมีปริมาณสาร ด้านอนุมูลอิสระสูงขึ้นกว่า 10 เท่าเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้วัตถุดิบเริ่มต้นที่มีความชื้นสูง ซึ่งผลการ ทดลองนี้สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตกระเทียมดํา เพื่อผลิตกระเทียมดําได้อย่าง มีคุณภาพ และสามารถควบคุมคุณภาพของกระเทียมดําให้มีความสม่ําเสมอen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
609931004 ปิยะฉัตร์ สุนันต๊ะ.pdf29.92 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.