Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Teeraporn Saeheaw-
dc.contributor.authorZhou Dingxiangen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T01:59:41Z-
dc.date.available2020-08-12T01:59:41Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69515-
dc.description.abstractThe passive training process and abstract training content caused passive style of teaching leading to the slow learners’ substandard reading ability when comparing with the national curriculum criterion. This situation reflects that teachers have low motivation, inadequate engagement, and inconsistent concentration. And teachers failed to absorb the provided strategies in terms of Chinese language reading teaching. To bring up Chinese teachers’ teaching performance, this research proposes a Constructionism-based training framework with the integration of theories, including Constructionism, Cone of Learning, Cognitive Learning, and Education 5.0. This research aims to i) identify the critical domain in terms of the slow learner by exploring the root cause in the form of IPO analysis; ii) propose a conceptual training framework based on the Cone of learning in Education 5.0 and Constructionism; iii) validate the applicability of the proposed model by using content validation. Samples in this research are three teachers who perform the daily Chinese language teaching, and these teachers are selected based on years of teaching experience. The proposed framework utilizes constructionism to form three main components name as domain knowledge, intellectual tools, and learning environment. Domain knowledge is extracted from the literature review in terms of Chinese reading teaching, the selection of intellectual tools is based on the active learning theory, and the learning environment is designed based on the proposed Cone of Learning in Education 5.0 concepts. Content analysis is used to analyze qualitative data, and then turn those data to be quantitative. Results showed that: i) slow learner issues have recognized and prioritized by the Chinese language teachers; ii) the previous training yielded limited outcomes to improve the teachers’ reading teaching performance; iii) the passive teaching process has made slow learners stranded to reach the minimum scholastic achievement. Previous research on teaching slow learners rarely highlights on reskilling teachers’ teaching ability. Most of the journals made attempts on teacher’s special intervention, including teaching material adjustment, increase repetition of teaching, give the pertinent assignment, etc. These methods tried to improve slow learners’ performance by amending the content delivery process, rather than reskill the teachers with strategical teaching. Regarding which, this research emphasizes the domain knowledge which is expected to bring up teachers’ reading teaching performance to meet Chinese Quality Education. With approval from experts in the educational area, this Constructionism-based training framework has the potential to improve teachers’ teaching performance in reading.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleA Constructionism-based Training Framework to Promote Chinese Language Teachers' Teaching Performance in Readingen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการอบรมโดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นฐานเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการสอนด้านการอ่านของครูสอนภาษาจีนen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractกระบวนการฝึกอบรมแบบบรรยายและเนื้อหาการฝึกอบรมเชิงนามธรรมทำให้เกิดรูปแบบที่ครูสอนบรรยายนักเรียนนั่งฟังซึ่งนำไปสู่ความสามารถในการอ่านของนักเรียนที่รับรู้ช้าต่ำกว่ามาตรฐานเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์หลักสูตรแห่งชาติสถานการณ์ดังกล่าวสะท้อนครูมีแรงจูงใจต่ำมีส่วนร่วมไม่เพียงพอรวมถึงการไม่ให้ความสนใจจึงทำให้ครูไม่ประสบความสำเร็จในการนำกลยุทธ์ที่อบรมมาเพื่อสอนการอ่านภาษาจีน เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการสอนของครูสอนภาษาจีนงานวิจัยชิ้นนี้เสนอรูปแบบการอบรมโดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นฐานโดยบูรณาการทฤษฎีดังนี้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองพีระมิดแห่งการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้แนวปัญญานิยมและการศึกษายุค 5.0 วัตถุประสงค์งานวิจัยคือ 1. เพื่อระบุสาเหตุปัญหาของนักเรียนที่รับรู้ช้าโดยสำรวจสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยนำเข้า ประเมินกระบวนการประเมินผลผลิตและประเมินผลลัพธ์ 2. เสนอรูปแบบการอบรมโดยใช้พีระมิดแห่งการเรียนรู้ร่วมกับการศึกษายุค5.0และทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นฐาน 3. เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการอบรมโดยใช้วิธีการตรวจสอบเนื้อหากลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือครูสอนภาษาจีน3คนที่สอนภาษาจีนทุกวันและคัดเลือกจากประสบการณ์การสอนที่ยาวนาน รูปแบบการอบรมโดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเพื่อสร้างองค์ประกอบ 3 ส่วนได้แก่หัวข้อความรู้เครื่องมือการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้หัวข้อความรู้ได้จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการสอนการอ่านภาษาจีนการเลือกเครื่องมือการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับทฤษฎีการเรียนรู้แบบการลงมือกระทำและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ถูกออกแบบบนพื้นฐานพีระมิดการเรียนรู้และแนวคิดการศึกษายุค 5.0 การวิเคราะห์เนื้อหานำมาใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและแปลงผลข้อมูลคุณภาพเป็นเชิงปริมาณผลการวิจัยพบว่า 1. ปัญหานักเรียนที่รับรู้ช้าได้รับการยอมรับและจัดลำดับความสำคัญโดยครูสอนภาษาจีน 2. การฝึกอบรมก่อนหน้านี้ให้ผลลัพธ์ที่จำกัดเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการสอนการอ่านของครู 3. กระบวนการฝึกอบรมแบบบรรยายส่งผลให้นักเรียนที่รับรู้ช้าบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาค่อนข้างต่ำ งานวิจัยเกี่ยวกับการสอนนักเรียนที่รับรู้ช้าก่อนหน้านี้ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับความสามารถในการสอนของครูวารสารส่วนใหญ่มุ่งไปที่การปรับเนื้อหาการสอนเพิ่มการสอนซ้ำการมอบหมายงานที่เกี่ยวข้องฯลฯวิธีการเหล่านี้พยายามปรับปรุงความสามารถของนักเรียนที่รับรู้ช้าโดยแก้ไขกระบวนการสอนแทนที่จะยกระดับทักษะการสอนของครูด้วยการสอนเชิงกลยุทธ์ในการนี้งานวิจัยชิ้นมุ่งเน้นหัวข้อความรู้ซึ่งคาดหวังยกระดับความสามารถการสอนการอ่านของครูให้เทียบเท่ากับคุณภาพการศึกษาของจีนจากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพบว่ารูปแบบการอบรมโดยใช้ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นฐานมีประสิทธิภาพในการเพิ่มพูนความสามารถการสอนของครูen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612132022 Zhou Dingxiang.pdf7.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.