Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้าผึ้ง อินทะเนตร-
dc.contributor.authorเกศิณี ศรีบุญเรืองen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:35:46Z-
dc.date.available2020-08-10T01:35:46Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69477-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) study Matthayomsuksa 3 students’ adversity quotient between students who have different parenting style and different personality 2) study validation of adversity quotient measurement of Matthayomsuksa 3 students, and 3) examine the invariance of model form and the parameter of Matthayomsuksa 3 students’ adversity quotient model between students who have different parenting style and personality. The research samples were 704 cases from Matthayomsuksa 3 students of the Secondary Educational Service Area Office 34 in academic year 2018 and opportunity expansion schools under Chiangmai Primary Educational Service Area Office 1-6 by using Multi – Stage random sampling method. The research instruments were 1) 58 items 5 rating-scale questionnaire of adversity quotient for Matthayomsuksa 3 students. The content validity (IOC) of each item ensured by 5 experts were ranged from 0.60 to 1.00. The instrument tried out by 110 Matthayomsuksa 3 students found that the discriminations (r) were ranged from 0.272 to 0.693. The t-test were ranged from 4.437 to 8.752. The reliability () was 0.948. 2) 17 items 5 rating scaling questionnaire of parenting style focuses on uninvolved parenting style, democratic parenting style and overprotected parenting style. The content validity (IOC) were ranged from 0.60 to 1.00. The uninvolved parenting style have the discriminations (r) were ranged from 0.388 to 0.623, the reliability () was 0.847. The democratic parenting style have the discriminations (r) were ranged from 0.341 to 0.501, the reliability () was 0.852. The overprotected parenting style have the discriminations (r) were ranged from 0.330 to 0.585, the reliability () was 0.850. 3) 45 items 5 rating scaling questionnaire of personality. The content validity (IOC) were ranged from 0.60 to 1.00. The personality of neuroticism have the discriminations (r) were ranged from 0.313 to 0.604, the reliability () was 0.928. The personality of extraversion have the discriminations (r) were ranged from 0.228 to 0.613, the reliability () was 0.928. The personality of openness to experience have the discriminations (r) were ranged from 0.375 to 0.625, the reliability () was 0.928. The personality of agreeableness have the discriminations (r) were ranged from 0.259 to 0.526, the reliability () was 0.928. And the personality of Conscientiousness have the discriminations (r) were ranged from 0.385 to 0.644, the reliability () was 0.929.The data was analyzed by using descriptive analysis, second order confirmatory factor analysis (2nd CFA), and multiple group analysis by Mplus 7.4 program. The results of this study were as follows: 1) The analysis result found that Chiangmai Matthayomsuksa 3 students’ adversity quotient was in fair level. The results considering by each parameter found that the ability to endurance was in good level. The ability to control problematic situations, origin and ownership, and reach the problem impact were in fair level. The results considering the style of parenting found the all 3 types have adversity quotient was in fair level. The democratic parenting style was the highest average. The secondary was uninvolved parenting style and next overprotected parenting style, respectively. The results considering adversity quotient from student’ personality found that student with conscious personality have adversity quotient in good level. Next, personality of openness to experience, personality of agreeableness, personality of extraversion and personality of neuroticism impact were in fair level. 2) The result of validation of adversity quotient measurement of Matthayomsuksa 3 students’ adversity quotient model found that the model was fit to the empirical data with 2  = 139.117, df = 119, p-value = 0.1003, 2  /df =1.169 less than 2, CFI = 0.997, TLI = 0.995, RMSEA = 0.015, SRMR = 0.018 The results considering by each parameter found that the ability to control have the factor loadings were ranged from 0.434 to 0.772. The ability to origin and ownership have the factor loadings were ranged from 0.647 to 0.805. The ability to reach have the factor loadings were ranged from 0.651 to 0.740. And the ability to endurance have the factor loadings were ranged from 0.656 to 0.782.3) The analysis result of the invariance of model form and the parameter of Matthayomsuksa 3 students’ adversity quotient model between 3 different groups of parenting style and between 5 different groups of personality showed that the model was invariance in form but was variance in parameters. The different groups of parenting style was variance of 1 latent variable: control. The different groups of personality was variance of 2 latent variable: control and endurance. And the variance of 11 observed variables: control emotions, goals for work, solve immediate problems, find the cause of the problem, responsibility, sacrifice, dedicated to solving problems, learn and develop from problems that arise, endurance, the problem was a challenge and positive thinking.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลการวัดความสามารถ ในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3: การวิเคราะห์กลุ่มพหุen_US
dc.title.alternativeDevelopment and Validation of Adversity Quotient Measurement Model of Grade 9 Students: Multiple Group Analysisen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูและบุคลิกภาพที่แตกต่างกัน 2) เพื่อตรวจสอบความตรงของโมเดลการวัดความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 3) เพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของรูปแบบและค่าพารามิเตอร์ในโมเดลการวัดความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างนักเรียนที่มีรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูและบุคลิกภาพที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 และ โรงเรียนขยายโอกาสในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 1-6 จานวน 704 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi – Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ 1) แบบวัดความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 58 ข้อ โดยผู้วิจัยมีการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน มีค่า IOC ในแต่ละรายข้ออยู่ระหว่าง 0.60 ถึง 1.00 และได้ทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 110 คน พบว่ามีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.272 ถึง 0.693 ค่า t-test ตั้งแต่ 4.437 ถึง 8.752 และค่าความเชื่อมั่น ( α ) เท่ากับ 0.948 2) แบบสอบถามการอบรมเลี้ยงดู มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จานวน 17 ข้อ ที่มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60ถึง 1.00 โดยมุ่งเน้นวัดการอบรมเลี้ยงดูทั้ง 3 รูปแบบ ได้แก่ การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย มีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.388 ถึง 0.623 มีค่าความเชื่อมั่น ( α ) เท่ากับ 0.847 การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย มีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.341 ถึง 0.501 มีค่าความเชื่อมั่น (α ) เท่ากับ 0.852 และการอบรมเลี้ยงดูแบบเข้มงวดกวดขัน มีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.330 ถึง 0.585 และมีค่าความเชื่อมั่น (α ) เท่ากับ 0.850 3) แบบสอบถามเพื่อวัดบุคลิกภาพ มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จานวน 45 ข้อ มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60 ถึง 1.00 โดยมุ่งเน้นวัดบุคลิกภาพทั้ง 5 รูปแบบ ได้แก่ บุคลิกภาพแบบหวั่นไหว มีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.313 ถึง 0.604 มีค่าความเชื่อมั่น (α ) เท่ากับ 0.928 บุคลิกภาพแบบแสดงตัว มีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.288 ถึง 0.613 มีค่าความเชื่อมั่น (α ) เท่ากับ 0.928 บุคลิกภาพแบบเปิดกว้างต่อประสบการณ์ มีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.375 ถึง 0.625 มีค่าความเชื่อมั่น (α ) เท่ากับ 0.928 บุคลิกภาพแบบประนีประนอม มีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.259 ถึง 0.526 มีค่าความเชื่อมั่น (α ) เท่ากับ 0.928 และบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึก มีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.385 ถึง 0.644 มีค่าความเชื่อมั่น (α ) เท่ากับ 0.929 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง (2nd CFA) และการวิเคราะห์กลุ่มพหุ ด้วยโปรแกรม Mplus 7.4 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการวิเคราะห์ความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับพอใช้ เมื่อแยกพิจารณาตามรายองค์ประกอบพบว่าองค์ประกอบความสามารถในการอดทนต่อความยืดเยื้อของปัญหา (END) อยู่ในระดับดี ส่วนองค์ประกอบความสามารถในการควบคุมสถานการณ์ที่เป็นปัญหาหรืออุปสรรค (CON) องค์ประกอบความสามารถในการรับรู้ต้นเหตุและความรับผิดชอบต่อปัญหา (ORI) และองค์ประกอบความสามารถในการรับรู้ผลกระทบของปัญหา (REA) อยู่ในระดับพอใช้ เมื่อพิจารณาตามรูปแบบของการอบรมเลี้ยงดูพบว่า นักเรียนที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูทั้ง 3 รูปแบบมีระดับความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคอยู่ในระดับพอใช้ โดยการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย และการอบรมเลี้ยงดูแบบเข้มงวดกวดขัน ตามลาดับ และเมื่อพิจารณาตามบุคลิกภาพของนักเรียน พบว่าบุคลิกภาพแบบมีจิตสานึกมีระดับความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคอยู่ในระดับดี รองลงมาคือบุคลิกภาพแบบเปิดกว้างต่อประสบการณ์ บุคลิกภาพแบบประนีประนอม บุคลิกภาพแบบแสดงตัว และบุคลิกภาพแบบหวั่นไหว ตามลาดับ ซึ่งนักเรียนที่มีบุคลิกภาพทั้ง 4 แบบนี้มีระดับความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคอยู่ในระดับพอใช้2) ผลการตรวจสอบความตรงของโมเดลการวัดความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่าโมเดลการวัดความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคมีความตรง โดยมีค่า 2 = 139.117, df = 119, p-value = 0.1003, 2 /df = 1.169, CFI = 0.997, TLI = 0.995, RMSEA = 0.015 และ SRMR = 0.018 ซึ่งพบว่ามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยองค์ประกอบความสามารถในการควบคุมสถานการณ์ที่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคมีค่าน้าหนักองค์ประกอบตั้งแต่ 0.434 ถึง 0.772 องค์ประกอบความสามารถในการรับรู้ต้นเหตุและความรับผิดชอบต่อปัญหามีค่าน้าหนักองค์ประกอบตั้งแต่ 0.647 ถึง 0.805 องค์ประกอบความสามารถในการรับรู้ผลกระทบของปัญหามีค่าน้าหนักองค์ประกอบตั้งแต่ 0.651 ถึง 0.740 และองค์ประกอบความสามารถในการอดทนต่อความยืดเยื้อของปัญหามีค่าน้าหนักองค์ประกอบตั้งแต่ 0.656 ถึง 0.782 3) ผลการวิเคราะห์ความไม่แปรเปลี่ยนของรูปแบบและค่าพารามิเตอร์ในโมเดลการวัดความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูที่แตกต่างกัน 3 กลุ่ม และกลุ่มนักเรียนที่มีบุคลิกภาพแตกต่างกัน 5 กลุ่ม พบว่าโมเดลไม่มีความแปรเปลี่ยนทางด้านรูปแบบแต่มีความแปรเปลี่ยนทางด้านพารามิเตอร์ โดยกลุ่มนักเรียนที่มีรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูที่แตกต่างกันมีความแปรเปลี่ยนของตัวแปรแฝง 1 ตัว ได้แก่ ความสามารถในการควบคุมสถานการณ์ที่เป็นปัญหาหรืออุปสรรค สาหรับกลุ่มนักเรียนที่มีบุคลิกภาพที่แตกต่างกันมีความแปรเปลี่ยนของตัวแปรแฝง 2 ตัว ได้แก่ ความสามารถในการควบคุมสถานการณ์ที่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคและตัวแปรแฝงความสามารถในการอดทนต่อความยืดเยื้อของปัญหา และมีความแปรเปลี่ยนของตัวแปรสังเกตได้ 11 ตัวแปร ได้แก่ การมีสติสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ การตั้งเป้าหมายในการทางาน การแก้สถานการณ์เฉพาะหน้า การวิเคราะห์สาเหตุที่เกิดขึ้นของปัญหา มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองหรืองานที่ได้รับมอบหมาย มีความเสียสละรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีความมุ่งมั่นเพียรพยายามในการแก้ปัญหา การเรียนรู้และพัฒนาตนเองจากปัญหาที่เกิดขึ้น มีความอดทนต่อความยืดเยื้อของปัญหา การมองปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งท้ายทาย และมีความคิดเชิงบวกต่อปัญหาen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580232010 เกศิณี ศรีบุญเรือง.pdf4.13 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.