Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69461
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProf. Dr. Yos Santasombat-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Thapin Phatcharanurak-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Wasan Panyakaew-
dc.contributor.authorWorawut Ungjitpaisarnen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:33:44Z-
dc.date.available2020-08-10T01:33:44Z-
dc.date.issued2018-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69461-
dc.description.abstractIn a peri-urban area situation, which is one characterized by rural-urban interpenetration, changes are in progress owing to the on-going urbanization process. This study attempted to investigate what happened to the local elderly people, especially the young-olds, or elderly people aged 60-75, how they fared within such a context. The study involved observation, participation, casual conversations, inquiries, and in-depth interviews with 13 informants. It was found that changes in Rim Wiang mainly worked to affect the elderly people in multiple ways. Previously, they had lived in a rather inward-looking community where they were closely related to one another through traditional mechanisms. However, in the current of the on-going urbanization process, the elderly people found themselves encountering several changes as a result of such changes. Under the circumstances, they were largely impacted in such a way that those changes adversely affected the sustainment of their normal lives, putting them at risk of life’s insecurity in their old age. Such risk led to their adaptation through their re-engagement, by means of various strategies. The study found that their re-engagement was likely to be rooted in several factors including health, economic status, fear of becoming companionless, gender, and, most important of all, network mix. Their re-engagement spontaneously shifted them into a new social re-configuration where, at one end, the elderly people could be couched as ones with their close-knit work as a pivotal network and, at the other end, the elderly could be couched as ones with their loose-knit networks as the pivotal networks. In the close-knit network, the elderly people’s relationships could be mainly characterized by expressive ties while the networks of the elderly people of the latter group were mainly characterized by instrumental ties. This study found that the elderly people with a network mix of expressive ties and instrumental ties experienced their re-engagement differently. Those with a network mix of expressive networks as pivotal networks were likely to re-engage themselves within the community while those with a network mix of instrumental ties as pivotal networks were likely to re-engage themselves externally. Simultaneously, their selves were seen to have transformed from one state to another in the process as they proceeded from relaxed country folk to actively connective folk so as to live as normal members of society within such a rural-urban context.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleSelf-transformation and Re-engagement of the Elderly People in Risky Peri-urban Chiang Maien_US
dc.title.alternativeการปรับเปลี่ยนตัวตนและการหวนพัวพันของผู้สูงอายุในพี้นที่เสี่ยง กึ่งเมืองกึ่งชนบทจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้ได้ทำการศึกษาค้นคว้าชีวิตความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุที่อยู่ในช่วงวัย 60-75 ปีในเขตกึ่งเมืองกึ่งชนบทที่เกิดความเปลี่ยนแปลงอยู่อย่างต่อเนื่องในบริบทของการกลายเป็นเมือง การศึกษาได้ใช้วิธีการสังเกต การเข้าไปมีส่วนร่วม การพูดคุยโดยทั่วไปกับคนในชุมชน และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูล 13 ราย พบว่า ความเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้นเนื่องจากการกลายสภาพเป็นเมืองของพื้นที่มีผลกระทบต่อผู้สูงอายุในหลายๆทาง แต่เดิมมาผู้สูงอายุอาศัยอยู่ในชุมชนที่มีมุมมองการใช้ชีวิตแบบมองภายในกลุ่มที่รู้จักกันเองผ่านทางกลไกการช่วยเหลือกันและกันที่มีมาแต่ก่อน อย่างไรก็ตามท่ามกลางกระแสของการกลายเป็นเมืองที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องผู้สูงอายุพบว่าการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้นอันเป็นผลที่ตามมาของการกลายเป็นเมืองดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตตามปกติและนำไปสู่การเผชิญสภาพความเสี่ยงที่มีต่อความมั่นคงของชีวิตในบั้นปลาย ความเสี่ยงดังกล่าวนำไปสู่การปรับตัวของพวกเขาผ่านทางการหวนพัวพันโดยการใช้กลยุทธ์ที่แตกต่างกันไป พบว่าการหวนพัวพันมีแนวโน้มที่จะขึ้นอยู่กับหลายๆปัจจัยซึ่งประกอบไปด้วย ปัจจัยด้านสุขภาพ สถานะทางเศรษฐกิจ ความกลัวที่จะไม่มีเพื่อน เพศ และสำคัญที่สุดก็คือส่วนผสมของเครือข่ายหรือเน็ตเวิร์คมิกซ์ เมื่อมองจากเน็ตเวิร์คมิกซ์การหวนพัวพันของผู้สูงอายุทำให้เห็นการเกิดรูปแบบใหม่ทางสังคมที่ปลายด้านหนึ่งจะเป็นผู้สูงอายุที่มีเน็ตเวิร์คเป็นเครือข่ายแบบถักทอแนบแน่นเป็นหลักในการดำรงชีวิตและปลายอีกด้านหนึ่งจะเป็นผู้สูงอายุที่มีเน็ตเวิร์คเป็นแบบเครือข่ายแบบถักทอหละหลวมเป็นหลักในการดำเนินชีวิต ในเครือข่ายแบบถักทอแนบแน่นดังกล่าวจะมีลักษณะของความสัมพันธ์มุ่งเชิงความคิดหรือความรู้สึก ในขณะที่ในเครือข่ายแบบถักทอหละหลวมจะมีลักษณะของความสัมพันธ์เชิงมุ่งเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ การศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุที่มีส่วนผสมเครือข่ายความสัมพันธ์ที่แตกต่างกันจะมีการหวนพัวพันที่แตกต่างกันไป ผู้สูงอายุที่มีลักษณะเครือข่ายที่มีลักษณะมุ่งเชิงความคิดหรือความรู้สึกเป็นเครือข่ายหลักในการดำรงชีวิตมีแนวโน้มที่จะหวนพัวพันภายในชุมชนเอง ในขณะที่ผู้สูงอายุที่มีลักษณะเครือข่ายที่มีลักษณะมุ่งเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์เป็นเครือข่ายหลักในการดำรงชีวิตมีแนวโน้มที่จะหวนพัวพันสู่ภายนอกชุมชนในขณะเดียวกันผู้สูงอายุเหล่านั้นได้เกิดการปรับเปลี่ยนสภาวะตัวตนด้วย โดยจากเดิมเป็นผู้สูงอายุที่มีตัวตนแบบเกษตรตามอัธยาศัยกลายเป็นผู้สูงอายุที่สร้างความเชื่อมโยงกับผู้อื่นในเชิงรุกมากขึ้นในบริบทแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบทเช่นนี้en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
550455903 วรวุฒิ อึ้งจิตรไพศาล.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.