Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระ ฟ้าเฟื่องวิทยากุล-
dc.contributor.authorศุภณัฐ นิโครธาen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T07:56:22Z-
dc.date.available2020-08-07T07:56:22Z-
dc.date.issued2014-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69428-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to experimentally model and test the efficiency of the dry-method palm oil extraction machine using a hydraulic system with a press cage sized 2.5 tons, a 3.3 tons pressure pump and a 3,730 kilowatts motor. The study was conducted to compress 3 different oil palms to produce 40 kilograms of oils per hour with a semi-automatic sludge removal system. The press cage was used when processing oil palms with the releasing holes of 0.125, 0.167 and 0.208 percent per surface area. The findings showed that the oil releasing holes affected the pressure force and the pressure difference of oil palm compressing. The 0.208 percent of oil releasing hole produced 759.37, 714.70 and 647.70 kilonewtons of pressure of Pisifera, Dura and Tenera oil palms while the pressure differences were 15,144.82, 13,946.31 and 11,658.24 kilopascals respectively. The production of Tenera was the highest quantity generating 350 millimeters when applying 647.70 kilonewtons of pressing force and 11,658.24 kilopascals of pressure difference. In conclusion, the surface area of the oil releasing holes affected the production of oil and the pressure of oil palms pressing. Larger surface area of the oil releasing holes was directly variation with higher oil production while the compressing pressure was lower.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการสกัดน้ำมันปาล์มen_US
dc.subjectน้ำมันปาล์มen_US
dc.subjectกระบวนการแห้งen_US
dc.subjectการอัดด้วยไฮดรอลิกen_US
dc.subjectไฮดรอลิกen_US
dc.titleการสกัดน้ำมันปาล์มแบบกระบวนการแห้งโดยใช้การอัดด้วยไฮดรอลิกen_US
dc.title.alternativeDry process palm oil extraction using hydraulic pressen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc633.851-
thailis.controlvocab.thashน้ำมันปาล์ม -- การสกัด-
thailis.controlvocab.thashน้ำมันปาล์ม -- การอบแห้ง-
thailis.controlvocab.thashปาล์มน้ำมัน-
thailis.manuscript.callnumberว 633.851 ศ464ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบสร้างทดสอบสมรรถนะของเครื่องสกัดน้ำมันปาล์มกระบวนการแห้งโดยใช้การอัดด้วยไฮดรอลิก กระบอกอัดขนาด 2.5 ตัน ปั๊มสร้างแรงดันขนาด 3.3 ลิตรต่อนาที มอเตอร์ขนาด 3,730 กิโลวัตต์ ทำการอัดปาล์มน้ำมันได้ 40 กิโลกรัมต่อชั่วโมง และมีระบบคายกากแบบกึ่งอัตโนมัติซึ่งใช้ปาล์มน้ำมัน 3 สายพันธุ์ในการทดสอบสกัดน้ำมัน โดยทำการทดสอบในกระบอกอัดที่มีพื้นที่รูระบายน้ำมันคือ 0.125, 0.167 และ 0.208 เปอร์เซ็นต์ต่อพื้นที่ผิวกระบอกอัด จากการทดสอบอัดปาล์มน้ำมันแบบกระบวนการแห้งโดยใช้การอัดด้วยไฮดรอลิกทั้งสามพื้นที่รูระบายน้ำมัน สามารถสรุปได้ว่าเปอร์เซ็นต์พื้นที่รูระบายน้ำมัน มีผลต่อแรงดันและผลต่างความดันในการอัดปาล์มน้ำมัน พื้นที่รูระบายน้ำมัน 0.208 เปอร์เซ็นต์ มีค่าแรงดันในการอัดปาล์มน้ำมันสายพันธุ์ฟิซิเฟอร่า พันธุ์ดูร่า และพันธุ์เทเนอร่าเท่ากับ 759.37 , 714.70 และ 647.70 กิโลนิวตัน ตามลำดับ และผลต่างความดันเท่ากับ 15,144.82 , 13,946.31 และ 11,658.24 กิโลปาสคาล ตามลำดับ โดยที่ปาล์มน้ำมันสายพันธุ์เทเนอร่าให้ปริมาณน้ำมันมากที่สุดคือ 350 มิลลิลิตร ซึ่งใช้แรงดันในการอัดเท่ากับ 647.70 กิโลนิวตันและผลต่างความดันเท่ากับ 11,658.24 กิโลปาสคาล จึงสรุปได้ว่าพื้นที่รูระบายน้ำมันมีผลต่อปริมาณน้ำมันที่อัดได้และความดันในการอัดปาล์มน้ำมัน ซึ่งพื้นที่รูระบายน้ำมันยิ่งมากจะมีปริมาณน้ำมันที่มากขึ้น และใช้ความดันในการอัดลดลงen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.