Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69414
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกานต์ ปทานุคม-
dc.contributor.authorประภัสสร วิสุทธิรังษีอุไรen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T04:21:29Z-
dc.date.available2020-08-07T04:21:29Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69414-
dc.description.abstractThe object categorization or recognition is common problem in computer vision that can be applied in many applications such as in surveillance cameras or intelligent robot system. There are many researches on the efficient appearance features for categorization systems, however, in some practical situations, the efficiency of the appearance based features may be decreased if there are high intra-class variation in the object categories or the deformable objects or occluded objects. In this research, we propose a human interaction based framework for object categorization. In the proposed framework, we improve the object categorization system by applying co-occurrence and spatial relationship based features. We focuses on an interaction between human and object in the indoor scene. The videos that human are performing the action of using the object are used as inputs and training samples of the proposed system. Co-occurrence of objects and hand postures, a relative position between objects and face, an object motion, and an object appearance are concatenated and used as the features. The co-occurrence based features are defined as co-occurrence between the hand posture prototypes and objects. The hand posture prototypes can be obtained by -means clustering. The histogram of relative positions between object and face and histogram of object motion vectors are applied as two features of spatial relationship based features. In the experiment, we evaluate by using 108 videos of six classes of objects. The results show that the proposed framework can provides the accuracy of 89.63 % which improve by 27.59% in comparison with the appearance based feature.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความสัมพันธ์เชิงพื้นที่en_US
dc.subjectปฏิสัมพันธ์ของคนen_US
dc.titleการจำแนกประเภทวัตถุโดยการใช้ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่และการปรากฏร่วมกันกับปฏิสัมพันธ์ของคนen_US
dc.title.alternativeObject categorization using spatial relationship and co-occurrence with human interactionen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc621.39-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
thailis.controlvocab.thashวัตถุ -- การจำแนก-
thailis.manuscript.callnumberว 621.39 ป1711ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจำแนกประเภทวัตถุเป็นปัญหาที่ถูกศึกษาอย่างแพร่หลาย มีงานวิจัยที่นำเสนอวิธีการต่างๆ มากมาย เพื่อให้ได้ระบบการจำแนกวัตถุที่มีความแม่นยำ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ เช่น หุ่นยนต์อัจฉริยะที่สามารถรู้จำวัตถุได้ ระบบการนับสิ่งของโดยที่ไม่ต้องใช้คน เป็นต้น ปัญหาของการจำแนกวัตถุ คือ วัตถุมีรูปร่างและรูปแบบมากมายหลายชนิด การเลือกคุณลักษณะที่ดีเพื่อมาใช้อธิบายภาพวัตถุนั้น เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้การจำแนกวัตถุนั้นมีประสิทธิภาพที่ดี งานวิจัยนี้นำเสนอการใช้ปฏิสัมพันธ์ของคนที่มีต่อวัตถุมาใช้ในการจำแนกวัตถุ โดยการสร้างความสัมพันธ์เชิงพื้นที่และการปรากฏร่วมกัน เพื่อใช้เป็นคุณลักษณะในการอธิบายภาพวัตถุ ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาการจำแนกประเภทวัตถุในกรณีที่วัตถุมีความหลากหลายทางด้านรูปแบบ หรือวัตถุที่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ หรือวัตถุที่ถูกวัตถุอื่นบัง ขอบข่ายงานนี้ได้ทำการทดลองกับภาพวิดีโอของคนที่กำลังใช้งานวัตถุ ซึ่งอยู่ในสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัย โดยทดสอบกับวัตถุทั้งหมด 6 ประเภท วิดีโอที่ใช้ทั้งหมดมีจำนวน 108 วิดีโอ สำหรับความสัมพันธ์เชิงการปรากฏร่วมกันระหว่างรูปร่างของมือกับวัตถุ ในขั้นตอนของการฝึกสอน จะทำการสร้างต้นแบบรูปร่างมือ เพื่อใช้ในการสร้างเวกเตอร์คุณลักษณะสำหรับในแต่ละภาพที่มีการปรากฏพร้อมกันระหว่างมือและวัตถุ ส่วนความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ จะทำการสร้างฮิสโทแกรมของความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งใบหน้าและตำแหน่งวัตถุ และสร้างฮิสโทแกรมของเวกเตอร์การเคลื่อนที่ของวัตถุ จากนั้นรวบรวมคุณลักษณะต่างๆที่ได้สร้างขึ้นเป็นคุณลักษณะที่ใช้ในการจำแนกวัตถุ ผลการทดลองของการจำแนกวัตถุโดยการใช้คุณลักษณะที่ได้สร้างขึ้นแบบรวมทั้งหมดมีความแม่นยำ 89.63% ซึ่งมีความแม่นยำเพิ่มขึ้น 27.59% เมื่อเปรียบเทียบกับผลการจำแนกประเภทวัตถุโดยใช้คุณลักษณะรูปร่างวัตถุเพียงอย่างเดียวen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf6.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.