Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDr. Saranyapin Potikanond-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Siriporn Chattiparorn-
dc.contributor.advisorProf. Dr. Nipon Chattipakorn-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Parirat Khonsung-
dc.contributor.advisorDr. Natthakarn Chiranthanut-
dc.contributor.authorSalinee Jantrapiromen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:04:33Z-
dc.date.available2020-08-07T01:04:33Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69400-
dc.description.abstractBrain insulin resistance has been shown to be associated with cognitive impairment and Alzheimer’s disease (AD). Several studies have been demonstrated that AD and type 2 diabetes mellitus (T2DM) shared some risk factors including amyloidogenesis and brain insulin resistance. Liraglutide is a long-acting GLP-1 receptor agonist using in T2DM therapy. Several studies showed that liraglutide has beneficial effects on brain function including the cognitive improvement, decreased AD-like characteristics such as amyloid plaque and also has neuroprotective effects. However, the effect of liraglutide on the model of neuronal insulin resistance with AD-like characteristics has not been thoroughly investigated yet. In the present study, the model of neuronal insulin resistance with AD-like characteristics was established by using human neuroblastoma cell line (SH-SY5Y). Those cells were induced to be insulin resistance with 100 nM insulin for 2 days. The insulin resistant characteristics were indicated as an impairment of insulin signaling, including decreased phosphorylation of insulin receptor (IR) and the down-stream signaling; AKT and GSK3β. The AD-like characteristics as indicated by increased amyloid-β and Tau phosphorylation and the expression of extracellular insoluble plaques was also found in this model. Moreover, this chronic insulin resistant condition also increased cell death by increasing Bax/Bcl2 ratio. The application of 500 nM liraglutide onto the model of neuronal insulin resistance with AD-like characteristics improved neuronal insulin sensitivity and decreased AD characteristics but it could not improve cell death. These findings suggest that liraglutide is a promising therapy for AD with insulin resistant condition.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleEffects of Liraglutide on Neuronal Insulin Resistance in in vitroen_US
dc.title.alternativeผลของยาลีรากลูไทด์ต่อภาวะดื้ออินซูลินของเซลล์ประสาทในหลอดทดลองen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะดื้ออินซูลินในสมอง(Brain insulin resistance) พบว่ามีความสัมพันธ์กับภาวะความจำบกพร่อง (cognitive impairment) และโรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) มีหลักฐานมากมายบ่งชี้ว่าโรคอัลไซเมอร์และโรคเบาหวานชนิดที่สอง (Type 2 diabetes mellitus, T2DM) มีปัจจัยเสี่ยงบางประการร่วมกัน เช่น การมีภาวะดื้ออินซูลินในสมอง หรือ การสร้างโปรตีนแอมีลอยด์ (amyloidogenesis) เป็นต้น ยาลีรากลูไทด์เป็นยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นตัวรับของกลูคากอนไลค์เปปไทด์ชนิดที่หนึ่ง (GLP-1 receptor agonist) ซึ่งนำมาใช้รักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง นอกจากนี้ในหลายการศึกษาพบว่ายาลีรากลูไทด์ให้ผลดีในการช่วยเพิ่มความจำ ลดจำนวนตัวบ่งชี้ของโรคอัลไซเมอร์ (AD-like characteristics) เช่น ลดตะกอนแอมีลอยด์ (amyloid plaques) อีกทั้งยังช่วยป้องกันการทำงานที่ผิดปกติของระบบประสาทและสมองได้อีกด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการศึกษาถึงผลของยาลีรากลูไทด์ต่อภาวะดื้ออินซูลินของเซลล์ประสาทรวมถึงการแสดงออกตัวบ่งชี้ของโรคอัลไซเมอร์ที่ชัดเจน ดังนั้นเราจึงทำการศึกษาโดยใช้เซลล์ประสาทของมนุษย์ชนิดเอสเอชเอสวายไฟว์วาย (Human neuroblastoma cell-line, SH-SY5Y) ในการเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะดื้ออินซูลินและการแสดงออกตัวบ่งชี้ของโรคอัลไซเมอร์ โดยใช้อินซูลินในความเข้มข้น 100 นาโนโมลาร์ เติมลงในเซลล์ประสาทดังกล่าวเป็นเวลาสองวัน หลังจากนั้น เซลล์ประสาทดังกล่าวจะมีการแสดงลักษณะของการดื้ออินซูลิน โดยพบภาวะการลดลงของกระบวนการเติมหมู่ฟอสเฟต(Phosphorylation) ในส่วนต่างๆของการส่งสัญญาณอินซูลิน เช่น ตัวรับอินซูลิน โปรตีนเอเคที (Akt) และโปรตีนจีเอสเคทรีเบต้า (GSK3β) ซึ่งการลดลงของกระบวนการเติมหมู่ฟอสเฟตของ GSK3β ที่กรดอะมิโนซีรีนตำแหน่งที่ 9 ซึ่งเป็นตำแหน่งการยับยั้งการทำงานของโปรตีน GSK3β ดังนั้นการลดลงของกระบวนการเติมหมู่ฟอสเฟตที่ตำแหน่งนี้ จะส่งผลทำให้การทำงานของโปรตีน GSK3β เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบการแสดงตัวบ่งชี้ของโรคอัลไซเมอร์ต่างๆ เช่น การเพิ่มขึ้นของโปรตีนแอมีลอยด์เบต้า (Aβ) การเติมหมู่ฟอสเฟตของโปรตีนเทา (Tau protein) และการพบการตกตะกอนของเศษโปรตีนปรากฎขึ้นภายนอกเซลล์ และยังพบว่าแบบจำลองภาวะดื้ออินซูลินของเซลล์ประสาทนี้สามารถนำไปสู่การเพิ่มขึ้นของกระบวนการตายของเซลล์ โดยทำให้สัดส่วนของโปรตีนแบ็คซ์ (Bax) และโปรตีนบีซีแอลทู (Bcl-2) เพิ่มขึ้นอีกด้วย การใช้ยาลีรากลูไทด์ความเข้มข้น 500 นาโนโมลาร์ ในแบบจำลองภาวะดื้ออินซูลินของเซลล์ประสาทนี้พบว่าลดภาวะดื้นอินซูลินและลดตัวบ่งชี้ของโรคอัลไซเมอร์ได้ แต่อย่างไรก็ตามยาลีรากลูไทด์ไม่สามารถลดการตายของเซลล์ในแบบจำลองภาวะดื้ออินซูลินในเซลล์ประสาทนี้ได้ การทดลองทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นว่า ในอนาคต ยาลีรากลูไทด์อาจนำมาใช้เป็นยาในการรักษาการดื้ออินซูลินในผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ที่มีภาวะดื้ออินซูลินในสมองร่วมด้วยen_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.31 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.