Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Winita Punyodom-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Puttinan Meepowpan-
dc.contributor.authorSureerat Khunmaneeen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:03:42Z-
dc.date.available2020-08-07T01:03:42Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69391-
dc.description.abstractThis research examined methods to improve laboratory-scale synthesis of L-lactide (LLA) using tributyltin alkoxides (nC4H9)3SnOR (R = CH3, C2H5, nC3H7 and nC4H9) and conventional catalysts. (nC4H9)3SnOR were synthesized by the nucleophilic substitution of tributyltin chloride, (nC4H9)3SnCl. This process resulted in a colorless liquid (nC4H9)3SnOR which was purified by vacuum distillation and its identification was confirmed by 1H-NMR. The effects of types and amount of catalyst were investigated to produce LLA. Tributyltin butoxide, (nC4H9)3SnOnC4H9, gave the best results of the catalysts investigated in both polycondensation and thermal decomposition, giving a high % yield of LLA (80-90% crude, 65% purified) in high purity(99.5%) over a short reaction time (7.30 hrs). Besides, H2SO4 had highest activity on producing low molecular weight PLLA but it gave lowest yield of LLA (10%). Sn(Oct)2 was a strong racemization catalysts giving meso-lactide as an unwanted product even though it provided high yield of LLA. Ring opening polymerization of L-lactide (ROP) was carried out in a 20 ml vial which contained 10 g. of L-lactide. Comparison between the (nC4H9)3SnOR, Sn(OnC4H9)2 and Sn(Oct)2 showed that the highest molecular weight of PLLA was obtained when 0.1% mol Sn(Oct)2 was used as initiator at 140 ºC, 24 hrs, ( = 49,035) under the same condition. The results indicated that (nC4H9)3SnOnC4H9 gave lowest of molecular weight of PLLA because of the bulky groups of alkyl chain length causing the rate of polymerization decrease. In conclusion, (nC4H9)3SnOnC4H9 was an active catalyst for L-lactide, but it was not efficient enough for ring opening polymerization of L-lactide.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleEfficiency of Tributyltin Alkoxides in the Syntheses of L-Lactide and Poly(L-lactide)en_US
dc.title.alternativeประสิทธิภาพของไตรบิวทิลทิน แอลคอกไซด์ในการสังเคราะห์ แอล-แลกไทด์และพอลิ(แอล-แลกไทด์)en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในงานวิจัยนี้ ได้ศึกษาการปรับปรุงชุดปฏิกรณ์ในห้องปฏิบัติการสาหรับการสังเคราะห์แอล-แลกไทด์โดยใช้ไตรบิวทิลทิน แอลคอกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ในด้านของร้อยละของผลผลิตและความบริสุทธิ์ ไตรบิวทิลทิน แอลคอกไซด์ (หมู่แอลคิลคือ เมทิล เอทิล เอ็น-โพรพิล และ เอ็น-บิวทิล,) ถูกสังเคราะห์โดยผ่านปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยนิวคลีโอไฟล์ของไตรบิวทิลทิน คลอไรด์ และทำบริสุทธิ์ด้วยวิธีกลั่นลดความดันได้ของเหลวใส ไม่มีสีของตัวเร่งไตรบิวทิลทิน แอลคอกไซด์ และระบุเอกลักษณ์โดยเทคนิคนิวเคลียร์-แมกเนติกเรโซแนนซ์ สเปกโตรสโคปี ผลของชนิดและปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยาจึงถูกนำมาศึกษา จากผลการทดลองที่ได้พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาไตรบิวทิลทิน บิวทอกไซด์มีประสิทธิภาพมากที่สุดทั้งร้อยละของผลผลิตที่สูง(ร้อยละ 80-90 ของผลิตภัณฑ์หยาบ , ร้อยละ 65 ของแลกไทด์บริสุทธิ์) ความบริสุทธิ์ (ร้อยละ 99.5) และเวลาที่ใช้ใน การสังเคราะห์สั้นที่สุด (7.30 ชั่วโมง) นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นว่าตัวเร่งปฏิกิริยานี้มีประสิทธิภาพทั้งในขั้นตอนของปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซซันและปฏิกิริยาการสลายตัวด้วยความร้อน นอกจากนี้ซัลฟิวริค แอสิด มีปริสิทธิภาพสูงสุดในการสังเคราะห์พอลิเมอร์น้ำหนักโมเลกุลต่ำ แต่ให้ร้อยละผลผลิตของแอล-แลกไทด์ที่ต่ำ (ร้อยละ 10) สแตนนัส ออกโทเอท เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่แรงสำหรับการเกิดปฏิกิริยาราซีไมซ์เซซัน ส่งผลให้เกิดสารประกอบ มีโซ-แลกไทด์ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ข้างเคียงถึงแม้ว่าจะให้ร้อยละของผลผลิตแอล- แลกไทด์ที่สูง ปฏิกิริยาการพอลิเมอไรเซซันแบบเปิดวงของแอล-แลกไทด์ได้ทำการทดลองในขวดมีฝาปิดขนาด 20 มิลลิลิตร โดยบรรจุแอล-แลกไทด์ 10 กรัม เปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวริเริ่มปฏิกิริยาระหว่างไตรบิวทิลทิน แอลคอกไซด์, ทิน(II) บิวทอกไซด์ และทิน(II) ออกโทเอท พบว่าเมื่อใช้ ทิน(II) ออกโทเอท 0.1 เปอร์เซ็นต์โมล ที่ 140 องศาเซลเซียส เวลา 24 ชั่วโมงให้น้ำหนักโมเลกุลของพอลิ(แอล-แลกไทด์) สูงสุด มีน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยโดยความหนืดเท่ากับ 49,035 ภายใต้สภาวะการทดลองเดียวกัน จากผลการทดลองสามารถอภิปรายได้ว่าไตรบิวทิลทิน บิวทอกไซด์ ให้น้ำหนักโมเลกุลต่ำที่สุดเนื่องจากความเกะกะของสายโซ่แอลคิล ทำให้อัตราในการพอลิเมอไรเซซันช้าลง ส่งผลให้น้ำหนักโมเลกุลต่ำ กล่าวโดยสรุปคือ ไตรบิวทิลทิน บิวทอกไซด์ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีความว่องไวสำหรับการสังเคราะห์แอล-แลกไทด์ แต่ไม่เหมาะสำหรับการสังเคราะห์พอลิ(แอล-แลกไทด์)en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf8.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.