Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProf. Dr. Songsak Sriboonchitta-
dc.contributor.advisorProf. Dr. Peter H. Calkins-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Manoj Potapohn-
dc.contributor.authorHari Sharma Neupaneen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:01:04Z-
dc.date.available2020-08-07T01:01:04Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69366-
dc.description.abstractThe study site — Songkhla province is playing a vital role for economic and social development in the Southern Thailand being an international marketing hub for natural rubber and other agricultural products. In this context, this academic work provides analytical essays focusing on poverty and income inequality; tourism business; natural rubber production and marketing, and glimpse of Songkhla’s economy. Both primary and secondary data were explored and analyzed by adopting descriptive statistics, poverty and income inequality indices, One-Way ANOVA, Engel coefficient and econometric models such as GARCH, GARCH-GJR and EGARCH and Social Accounting Matrix framework. The average household income is significantly different in accordance with spatial location in Songkhla. Incidence of poverty is very low along the Asian highway and its network with head count ratio of 1.17 percent. Income inequality in the sample survey data is 36.4 percent while inequality ratio is considerably higher in urban area (44%). The number of tourist arrivals is not only the key determinant for a successful tourism business, but it is also the key source of anxiety for private sector entrepreneurs and government policy-makers. Noticeably, almost 80% of daily international arrivals by land transport in Songkhla were from Malaysia. Empirically, we found that the short run risk is persistent with negative asymmetric behavior in daily international arrivals. The rubber industry contributed Thai Bhat 487.2 billion to the national economy in 2013 with 18.4 % of average annual growth in between 2002 and 2013. It is believed that rubber industry has always been susceptible to the price volatility of rubber latex, which destabilizes the benefits of rubber production to the local economy, particularly to small-holder producers. Empirically, we found that price volatility is strongly persistent on the Hat Yai market, and the estimated results are statistically valid. The per capita monthly income for the urban poor is considerably low as compared to rural and semi-urban poor. Hence, urban poor are more vulnerable. We found that urban wealthy spent less proportion on food consumption as compared to both semi-urban and rural wealthy households and the Engel coefficient is significantly low in high income households than low income households. In the Songkhla’s economy, service sector contributed highest share (32.17%) to the total value added followed by factor returns (almost 25%) and agriculture (nearly 24%). Within the agriculture sector, rubber plantation (13%) and fisheries (7%) are the promising sectors. The skilled based services and hotel and tourism, and information technology services sector are also potential sector for Songkhla’s economy.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleSocio-economic Analysis of the Songkhla Economyen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์เชิงเศรษฐกิจและสังคมของเศรษฐกิจสงขลาen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractจังหวัดสงขลาอันเป็นพื้นที่ในการวิจัยครั้งนี้ มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในภาคใต้ของไทยในฐานะเป็นศูนย์รวมการตลาดนานาชาติของยางธรรมชาติและสินค้าเกษตรกรรมอื่นๆ โดยการศึกษาครั้งนี้มุ่งวิเคราะห์และเรียงความเสนอเฉพาะถึงประเด็นความยากจน ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ ธุรกิจการท่องเที่ยว การผลิตและการตลาดยางธรรมชาติ และสภาพเศรษฐกิจอย่างคร่าวๆ ของจังหวัดสงขลาอาศัยข้อมูลจากการสำรวจครัวเรือน ทั้งนี้ได้มีการหาข้อมูลทั้งแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิเพื่อใช้ทำการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือและวิธีการต่างๆ ได้แก่สถิติเชิงพรรณนา ดัชนีความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางรายได้ ตาราง ANOVA ทางเดียวสัมประสิทธิ์ Engel และแบบจำลองทางเศรษฐมิติ เช่น ในรูปแบบการ์ช การ์ช- GJR อีการ์ช ตลอดจนแมตริกซ์บัญชีสังคม อีกทั้งยังพบว่ารายได้ครัวเรือนโดยเฉลี่ยจะต่างกันอย่างมากระหว่างพื้นที่ต่าง ๆ แต่ในพื้นที่ตามเส้นทางหลวงสายเอเชียช่วงหาดใหญ่ และเส้นทางเครือข่ายรอง ค่าตัวบ่งชี้ความยากจนด้วยวิธีนับจำนวนประชากรพบว่ามีคนยากจนเพียง 1.17 % ซึ่งเป็นอัตราที่ต่ำมาก และความเหลื่อมล้ำทางราย ได้ตามพื้นที่นี้ตามตัวเลขตัวอย่างการสำรวจก็พบว่าสัดส่วนคนจนมี 36.4 % ในขณะที่ใน ภาคเมืองความเหลื่อมล้ำทางรายได้จะสูงกว่ามาก (44 %) จำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาไม่เพียงแต่เป็นตัวกำหนดอันสำคัญสำหรับธุรกิจท่องเที่ยวให้ได้ประสบผลสำเร็จ แต่ยังเป็นที่มาต้น ๆ ของความวิตกกังวลของผู้ประกอบการภาคเอกชน และผู้ตัดสินนโยบายของภาครัฐ เป็นที่สังเกตได้ว่าเกือบ 80%ของผู้เดินทางเข้ามาจังหวัดสงขลาจากต่างประเทศในแต่ละวันด้วยการคมนาคมทางบกนั้นเป็นนักท่องเที่ยวจากมาเลเซีย จากการศึกษาเชิงประจักษ์ เราพบว่าความเสี่ยงในระยะสั้นยังคงมีอยู่ จากการมีพฤติกรรมที่ไม่สมมาตรในทางลบระหว่างจำนวนนักท่องเที่ยวนานาชาติที่เข้ามาแต่ละวัน อุตสาหกรรมยางพาราได้สร้างรายได้ถึง 487.2 พันล้านบาทแก่ประเทศไทย ด้วยอัตราการเจริญเติบโต 18.4 % ต่อปีในช่วง 2545 – 2556 เป็นที่เชื่อกันว่าอุตสาหกรรมยางพารามีความอ่อนไหวเสมอมาต่อการผันผวนของราคาน้ำยางดิบ ซึ่งกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงในประโยชน์ที่ภาคการผลิตยางพาราจะมีต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อชาวสวนยางพารารายย่อย ผลพบว่าความผันผวนของราคายางพาราในตลาดหาดใหญ่ปรากฏแรงตลอดเวลา และผลจากการประมาณการมีความน่าเชื่อถือได้ทางสถิติ รายได้ต่อหัวประชากรต่อเดือนของครัวเรือนยากจนในภาคเมืองจะต่ำกว่ามากเมื่อเปรียบเทียบกับครัวเรือนในชนบทและครัวเรือนกึ่งยากจนในภาคเมือง ดังนั้น คนจนที่อยู่ในภาคเมืองจะมีความเปราะบางและไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจกว่ามาก แต่การศึกษานี้พบว่าผู้มีฐานะในภาคเมืองจะใช้จ่ายจากรายได้เพื่อการบริโภคอาหารในสัดส่วนที่ต่ำกว่า เมื่อเทียบกับผู้มีฐานะในเขตกึ่งเมืองและในชนบท ส่วนค่าสัมประสิทธิ์ Engel ที่คำนวนได้มีค่าต่ำกว่ามากสำหรับครัวเรือนที่มีรายได้สูงเมื่อเทียบกับครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำ ในเศรษฐกิจของจังหวัดสงขลา โดยในภาคบริการมีสัดส่วนสูงสุด (32.17%) ของมูลค่าเพิ่มทั้งหมด รองลงมาเป็นภาคผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (เกือบ 25 %) และเกษตรกรรม (เกือบ 24 %) ภายในภาคเกษตรกรรมเอง การผลิตยางพารา (13%) และการประมง (7%) นับว่าเป็นกิจกรรมที่น่าไปด้วยดี ในขณะเดียวกันภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่มีศักยภาพเช่นกันของจังหวัดสงขลา ได้แก่การท่องเที่ยว โรงแรม และบริการที่ต้อง ใช้แรงงานมีทักษะ และการบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.