Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69354
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Chitchol Phalaraksh-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Yuwadee Peerapornpisal-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Somporn Chantara-
dc.contributor.authorChayanan Jitmaneeen_US
dc.date.accessioned2020-08-06T01:44:13Z-
dc.date.available2020-08-06T01:44:13Z-
dc.date.issued2013-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69354-
dc.description.abstractThe study of the influence of acid mine drainage to living organism was conducted in November 2008 - August 2009. The study of odonate species were selected and collected the diversity data in coal mine reservoir as BP1G, BP1B and BP2 compared with the reference site as JL. The physico-chemical properties, ion concentrations in water and heavy metal concentrations in water and sediment were sampled every 2 month. The physio-chemical properties of water from Ban pu coal mine reservoirs and JL reservoir were compared with the standard of surface water quality of Thailand and Industrial Effluent Standard in Thailand. The result showed that, majority of water was moderate base on measured parameters. It was suitable for people to consume and for industrial purposed under sanitary controlled process and to conserve of aquatic animals and agriculture. Water qualities in JL showed a better quality than Ban pu coal mine reservoirs. The study of odonate diversity found a total of 29 species 23 genera of odonate. The species recorded comprised of 9 Zygoptera species belonging to 7 genus in 4 families and 20 Anisoptera species belonging to 16 genus in 4 families. Shanon - Wiener diversity index (H') was taken account of species richness as well as abundance of odonate. H' was found in ranged of 1.5 - 4.5 and the highest value was found at JL while the lowest value was found at BP1B. As 4 study sites, JL and BP2 were the suitable habitat more than BP1G and BP1B. Due to JL and BP2 were found the periphytic plants around the edge of the study site which odonate preferred to live more than BP1G and BP1B. The concentrations of heavy metals in the water and sediment from the study sites were determined. The highest concentration of heavy metals was Mn at BP2 (24.0 mg/L) which was excessive when compared to the Industrial Effluent Standard of Thailand (5 mg/L). Therefore acid mine drainage impacts to the area through acidity, ferric ion precipitation, oxygen depletion, and release of heavy metals associated with coal and metal mining. All heavy metals were reported in the sediment from every study site, except Cu at the BP2 site. The samples taken from the BP1B, BP1G and BP2 sites showed higher concentrations in the sediment than those observed at JL. The concentration levels of Cu, Fe and Zn were found significantly different between all study sites, while As, Cd and Mn were found in lower concentrations. The ion composition levels in the water found Cl-, NO3-, SO42-, Na+, K+, Ca2+ and Mg2+. The study sites in the mining area (BP1B, BP1G and BP2) found that the ion concentration levels mostly followed in the same trend, while JL, the reference site, was different. Sulfate and Calcium concentrations as the predominant ion were always found from the BP1B, BP1G and BP2 sites. Sulfate is considered the best indicator of acid mine which the result from the oxidation of pyrite. The correlations between ion concentrations in haemolymph and water were found from each study sites. The correlation was significantly different in every study sites and ions which were found these correlations. The ion concentrations in water were lower than in haemolymph except SO42- which higher than the haemolymph. These results occurred from the acid mine drainage at the study sites which in the mining area. The exposure of odonate nymph to acidic water caused significant losses of Na+ and Cl- concentrations in haemolymph of Orthetrum sabina after 12 to 48 h of exposure time. This present study confirms previous result obtained in the experiment which clearly shown that the effect of low pH to Na+ and Cl- concentrations in haemolymph from many animals.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleCharacteristics of Waters and Sediments and Effect of Ions on Odonate Nymph Haemolymph in Ban Pu Coal Mine Reservoirs, Lamphun Province, Thailanden_US
dc.title.alternativeคุณลักษณะเฉพาะของน้ำและตะกอน และผลของไอออนต่อฮีโมลีมฟ์ ของตัวอ่อนแมลงปอในอ่างเก็บน้ำเหมืองถ่านหินบ้านปู จังหวัดลำพูน ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractทำการศึกษาผลกระทบของน้ำที่มีความเป็นกรดจากเหมืองต่อสิ่งมีชีวิตในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 และได้ทำการศึกษาความหลากหลายของแมลงปอจากอ่างเก็บน้ำบริเวณพื้นที่เหมือง คือ จุดศึกษา BP1G BP1B และ BP2 เปรียบเทียบกับจุดศึกษาอ้างอิง JL โดยเก็บตัวอย่างคุณสมบัติทางกายภาพเคมี ปริมาณไอออน และ ปริมาณโลหะหนักในน้ำและตะกอนดินทุก ๆ 2 เดือนในน้ำ โดยศึกษาปัจจัยทางกายภาพเคมีของน้ำจากอ่างเก็บน้ำบริเวณเหมืองถ่านหินบ้านปูและอ่างเก็บน้ำ JL เปรียบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินและมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งอุตสาหกรรมของประเทศไทยพบว่าคุณภาพน้ำของจุดศึกษามีคุณภาพน้ำปานกลางเหมาะสมกับการนำมาใช้อุปโภคและประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรมภาคใต้การควบคุมดูและ และใช้ในการอนุรักษ์สัตว์น้ำ การศึกษาความหลากหลายของแมลงปอพบแมลงปอ 29 ชนิด 23 จีนัส โดย 9 ชนิดอยู่ในกลุ่มของ Zygoptera จาก 7 จีนัส 4 วงค์ และ 20 ชนิด อยู่ในกลุ่มของ Anisoptera จาก 16 จีนัส 4 วงค์ จากการคำนวณความหลากหลายโดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shanon – Wiener พบว่ามีค่าอยู่ในช่วง 1.5-4.5 และพบค่ามากที่สุดที่ JL ขณะที่จุดศึกษา BP1B พบค่าดัชนีความหลากหลายน้อยที่สุด โดยพบว่าจุดศึกษา JL และ BP2 มีความเหมาะสมต่อการอยู่อาศัยของแมลงปอมากกว่าจุดศึกษา BP1G และ BP1B เนื่องจากพบพืชน้ำที่เหมาะต่อสมการอยู่อาศัยของแมลงปอรอบ ๆ จุดศึกษา ทำการวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักในน้ำและตะกอนดินจากจุดศึกษา พบว่าที่จุดศึกษา BP2 มีความเข้มข้นของแมงกานีสในน้ำ (24.0 มิลลิกรัมต่อลิตร) มีค่ามากเกินเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม (5 มิลลิกรัมต่อลิตร) พบรายงานของโหละหนักทุกชนิดที่ได้ทำการวิเคราะห์ยกเว้นทองแดง ที่จุดศึกษา BP2 โดยที่จุดศึกษา BP1B BP1G และ BP2 มีปริมาณโหละหนักในตะกอนดินมากกว่าจุดศึกษา JL และพบปริมาณของทองแดง เหล็กและสังกะสี มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างจุดศึกษา ในขณะที่พบปริมาณสารหนู แคดเมียมและแมงกานีสในปริมาณน้อยมาก ไอออนที่พบได้แก่ คลอไรด์ ไนเตรต ซัลเฟต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียมและแมกนีเซียม โดยที่จุดศึกษา BP1G BP1B และ BP2 ที่อยู่บริเวณเหมือง ไอออนที่พบมีแนวโน้มเป็นไปในทางเดียวกัน มีซัลเฟตและแคลเซียมเป็นไอออนเด่น แตกต่างกับจุดศึกษาอ้างอิง JL โดยพบว่าปริมาณซัลเฟตไออนเป็นดัชนีบ่งชี้ลักษณะของความเป็นกรดที่เกิดมาจากจากเหมืองถ่านหินซึ่งเป็นผลมากจากการเกิดออกซิเดชั่นของแร่ไพไรท์ พบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณไอออนในฮีโมลีมฟ์ของตัวอ่อนแมลงปอและน้ำในแต่ละจุดศึกษา โดยความสัมพันธ์ที่พบมีความแตกต่างในทุกจุดศึกษาและทุกไอออนที่พบว่ามีความสัมพันธ์ โดยปริมาณไออออนในน้ำที่พบมีค่าน้อยกว่าปริมาณในฮีโมลีมฟ์ยกเว้นซัลเฟตซึ่งพบว่าในน้ำมีปริมาณสูงกว่าในฮีโมลีมฟ์ซึ่งเป็นผลมาจากความเป็นกรดในพื้นที่จุดศึกษาบริเวณเหมือง การทดลองเลี้ยงตัวอ่อนแมลงปอในน้ำที่มีความเป็นกรด พบว่ามีปริมาณโซเดียมและคลอไรด์ไออนมีการลดลงอย่างชัดเจนในฮีโมลีมฟ์ของตัวอ่อนแมลงปอ Orthetrum sabina หลังจากเวลาผ่านไป 12 ชั่วโมงจนถึง 48 ชั่วโมง การศึกษาครั้งนี้ยืนยันผลการศึกษาที่ผ่านมา ในผลกระทบของพีเอชต่ำต่อปริมาณโซเดียมและคลอไรด์ไอออนในฮีโมลีมฟ์ของสัตว์en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.