Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69349
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Yuwadee Peerapornpisal-
dc.contributor.advisorProf. Dr. Saisamorn Lamyong-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Kanokporn Saenphet-
dc.contributor.authorPheravut Wongsawaden_US
dc.date.accessioned2020-08-06T01:43:48Z-
dc.date.available2020-08-06T01:43:48Z-
dc.date.issued2013-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69349-
dc.description.abstractThis study was aimed to investigate the molecular identification, genetic relationships and development of DNA markers of Spirogyra spp. The 36 Spirogyra specimens were collected randomly in all part of Thailand during February 2009 to May 2011 including Chiang Rai, Chiang Mai, Phayao, Lampang, Lamphun, Phrae, Nan, Mae Hong Son, Tak, Uttaradit, Phitsanulok, Lop Buri, Ang Thong, Prachin Buri, Nakhon Sawan, Suphan Buri, Ratchaburi, Chainat, Kanchanaburi, Saraburi, Phetchaburi, Nakhon Phanom, Udon Thani, Loei, Maha Sarakham, Kalasin, Mukdahan, Chanthaburi, Rayong, Chumphon, Surat Thani, and Prachuap Khiri Khan provinces. The water quality from each collecting sites were recorded including pH, dissolve oxygen (DO), conductivity, biochemical oxygen demand (BOD), salinity and total dissolve solid (TDS), which was ranged from 4.09 – 9.04, 113 - 752 μs, 63 – 671 ppm, 0.1-0.8, and 5.5 - 11.2 mg/l, respectively. After that, all specimens of Spirogyra were investigated morphological characteristics under both of light microscope and scanning electron microscope. The results shown that, the Spirogyra specimens were classified into 5 patterns as fallows; Pattern 1: condensed and slightly compacted chloroplast spiral, Pattern 2: short cell with scattered chloroplast spiral, Pattern 3: long cell with less chloroplast spiral, Pattern 4: short cell with less chloroplast spiral and Pattern 5: long cell with condensed and compacted chloroplast spiral. In addition, DNA markers of 36 Spirogyra specimens were investigated using 10 ISSR primers (UBC 809, UBC 826, UBC 835, UBC 808, UBC 825, UBC 827, UBC 864, UBC 857, UBC 880 and UBC 807) and 5 primers of HAT-RAPD PCR (O 15, O 16, V 14, V 15 and B 01). The results shown that, both of PCR techniques were amplified 111 and 69 fragments, respectively. The analysis of the DNA fragments can be grouped 36 Spirogyra specimens by ISRR-PCR and HAT-RAPD PCR which are separated into five groups. Based on the 5 morphological patterns of DNA sequences of rbcL gene was sequenced and analyzed data by BLAST (Basic Local Alignment Search Tool) program in the NCBI (National Center for Biotechnology Information) database. The sequences data of Pattern 1 revealed definitive identity matches in the range of 99% for consensus sequences of S. ellipsospora Kütz, while Pattern 3 indicated definitive identity matches in the range only 93% with S. neglecta Kütz, which DNA sequences of rbcL gene could use as DNA markers of Spirogyra spp. The DNA sequences of the ITS 2 region of 5 patterns of Spirogyra are close to the Chlorella with 89-96%. Because of the sequences data of this ITS 2 was not available on NCBI database. The analysis of sequences data of both DNA sequences using UPGMA can be divided into five groups according to morphological characteristics.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleMolecular Identification, Genetic Relationships and Development of DNA Markers of Spirogyra spp.en_US
dc.title.alternativeการระบุเชิงโมเลกุล ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม และการพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอของ Spirogyra spp.en_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการระบุเชิงโมเลกุล ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม และการพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอของ Spirogyra spp. ทำการเก็บสาหร่าย Spirogyra จำนวน 36 จากแหล่งน้ำบางแหล่งของประเทศไทยระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2552 ถึง เดือนพฤษภาคม 2555 ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ พะเยา ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน แม่ฮ่องสอน ตาก อุตรดิตถ์ พิษณุโลก ลพบุรี อ่างทอง ปราจีนบุรี นครสวรรค์ สุพรรณบุรี ราชบุรี ชัยนาท กาญจนบุรี สระบุรี เพชรบุรี นครพนม อุดรธานี เลย มหาสารคาม กาฬสินธิ์ มุกดาหาร จันทบุรี ระยอง ชุมพร สุราษฎร์ธานี และประจวบคีรีขันธ์ พร้อมทั้งบันทึกคุณภาพของแหล่งน้ำได้แก่ ความเป็นกรดด่าง, ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ค่าความนำไฟฟ้า ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ ความเค็ม ของแข็งที่แขวนลอยในน้ำ โดยมีค่าเท่ากับ 4.09 – 9.04, 113 - 752 μs, 63 – 671 ppm, 0.1-0.8, and 5.5 - 11.2 mg/l ตามลำดับ จากนั้นศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ผลการศึกษาพบว่า สาหร่าย Spirogyra ถูกจัดจำแนกออกเป็น 5 รูปแบบ ตามลักษณะสัณฐานวิทยาดังนี้ รูปแบบที่ 1 ลักษณะของคลอโรพลาสต์มีการบิดเป็นเกลียวค่อนข้างแน่น รูปแบบที่ 2 เซลล์สั้น คลอโรพลาสต์บิดเกลียวไม่แน่นมาก และไม่ชัดเจน รูปแบบที่ 3 เซลล์ยาว คลอโรพลาสต์บิดเกลียวกันอย่างหลวมๆ ชัดเจน รูปแบบที่ 4 เซลล์สั้น คลอโรพลาสต์บิดเกลียวกันอย่างหลวมๆ และรูปแบบที่ 5 เซลล์ยาว คลอโรพลาสต์บิดเกลียวกันค่อนข้างแน่น สำหรับการศึกษาทางด้านอณูชีววิทยาโดยการศึกษาเครื่องหมายโมเลกุลดีเอ็นเอของสาหร่าย Spirogyra ทั้งหมด 36 ตัวอย่างด้วยเทคนิค ISSR–PCR โดยใช้ primer 10 สายประกอบด้วย UBC 809, UBC 826, UBC 835, UBC 808, UBC 825, UBC 827, UBC 864, UBC 857, UBC 880 และ UBC 807 และ HAT-RAPD PCR โดยใช้ primer 5 สายประกอบด้วย O 15, O 16, V 14, V 15 และ B 01 พบว่าเกิดแถบดีเอ็นเอทั้งหมด 111 แถบ และ 69 แถบ ตามลำดับ จากการวิเคราะห์แถบดีเอ็นเอสามารถจัดกลุ่มสาหร่ายโดย ISRR-PCR และ HAT-RAPD PCR พบว่าสาหร่าย Spirogyra ทั้ง36 ตัวอย่างถูกแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม เมื่อพิจารณาลำดับดีเอ็นเอของยีน rbcL ของสาหร่าย Spirogyra ทั้ง 5 รูปแบบ ด้วยชุดโปรแกรม BLAST (Basic Local Alignment Search Tool) ในฐานข้อมูล NCBI (National Center for Biotechnology Information) พบว่า สาหร่าย Spirogyra รูปแบบที่ 1 มีความใกล้เคียงกับ S. ellipsospora Kütz ถึง 99% ส่วนสาหร่าย Spirogyra รูปแบบที่ 3 มีความใกล้เคียงกับ S. neglecta Kütz 93% ซึ่งสามารถใช้ลำดับดีเอ็นเอของยีน rbcL เป็นเครื่องหมายดีเอ็นเอของสาหร่าย Spirogyra ส่วนลำดับดีเอ็นเอของ ITS 2 พบว่า ลำดับเบสของสาหร่าย Spirogyra ทั้ง 5 รูปแบบ มีความใกล้เคียงกับ Chlorella ด้วยค่า similarity 89-96% ทั้งนี้เนื่องจากไม่มีลำดับดีเอ็นเอของ ITS 2 ของสาหร่าย Spirogyra อยู่ในฐานข้อมูล NCBI นอกจากนี้เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมโดยใช้ลำดับเบสของดีเอ็นเอทั้งสองด้วยวิธี UPGMA พบว่าสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 กลุ่มซึ่งสอดคล้องกับลักษณะทางสัณฐานวิทยาen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf6.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.