Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69341
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Apichet Boonsoong-
dc.contributor.authorPimwaree Tichiwattanakarnen_US
dc.date.accessioned2020-08-06T01:43:04Z-
dc.date.available2020-08-06T01:43:04Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69341-
dc.description.abstractJadeite jade is a Na-Al pyroxene mineral that is a single chain silicate. The objectives of this study are to explain cause of color in green jadeite jade from Myanmar, to clearly understand the mineralogical properties and crystal chemistry of green jadeite and to study the green jadeite jade structure in term of relationship between color and spectroscopy. The 38 jadeite jade samples from Myanmar were separated on the basis of their colors into 5 groups including light bluish green, bluish green, light green, green and yellowish green or greenish yellow. Mineralogical properties of jadeite jade from Myanmar have the specific gravity (S.G.) ranging from 3.20-3.41 (3.34 on average), the refractive index (R.I.) varying from 1.652-1.670 with birefringence of 0.008-0.010. The mineralogical properties and FTIR result of the samples are determined as natural jadeite jade. From FTIR result, samples found importantly absorption bands that are 3000-3500 cm-1. The band at 3000-3500 cm-1 is assigned to OH stretching mode. From resulting of Electron Probe Micro-analysis (EPMA), Ultraviolet-Visible-Near Infrared absorption spectroscopy and X-ray absorption spectroscopy, jadeite structure consists of Fe2+ and Fe3+. The simultaneous presence of Fe3+ and Fe2+ means intervalence charge transfer. In some samples, samples present Cr3+ and trace elements that are chromophores as Mn, Co, V and Ti in absorption board band at 600-700 nm. Fe and Cr in jadeite structure showed absorption spectrum at 370, 380, 420 nm and broad bands at 600-700 and 900-1000 nm. Then, cause of green color occurs Fe2+-Fe3+ intervalence charge transfer (IVCT) and Cr that substituted ion in M1 (octahedral oxygen coordination). Therefore, cause of green color in samples occurs from Fe, Cr and trace elements as Co, V and Ti that occupied in M1 sites, octahedral oxygen coordination in jadeite structure. Paler color groups showed lower absorbance than darker color groups. In darker color groups, Fe and Cr found in jadeite structure more than paler color. Fe and Cr increased in jadeite that is darker green color.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleCrystal Chemistry of Green Jadeite Jade from Myanmaren_US
dc.title.alternativeเคมีผลึกของหยกเจไดต์สีเขียวจากพม่าen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractหยกเจไดต์เป็นแร่ในกลุ่มโซเดียม-อะลูมิเนียมไพรอกซีนซึ่งจัดเป็นแร่ซิลิเกตชนิดหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์การศึกษาคือ ความเข้าใจสาเหตุการเกิดสีเขียวในหยกเจไดต์จากประเทศพม่า เข้าใจคุณสมบัติทางแร่และทางเคมีผลึกของตัวอย่าง อีกทั้งศึกษาโครงสร้างของหยกที่มีความสัมพันธ์ระหว่างสีและสเปกโตรสโคปี โดยตัวอย่างจำนวน 38 ตัวอย่างสามารถแบ่งกลุ่มสีที่พบเป็น 5 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มสีเขียวอมฟ้าอ่อน สีเขียวอมฟ้า สีเขียวอ่อน สีเขียว และ สีเหลืองอมเขียว หรือ สีเขียวอมเหลือง คุณสมบัติทางแร่ของตัวอย่างหยกเจไดต์จากพม่าประกอบด้วย ค่าความถ่วงจำเพาะ (ถ.พ.) อยู่ในช่วง 3.20-3.41 (ค่าเฉลี่ย 3.34) ค่าดัชนีการหักเหของแสง (R.I.) อยู่ในช่วง 1.652-1.70 ร่วมกับค่าไบรีฟรินเจนในช่วง 0.008-0.010 จากผลการทดสอบคุณสมบัติทางแร่และเครื่องเอฟทีไออาร์ พบว่าตัวอย่างหยกเป็นหยกธรรมชาติ จากผลวิเคราะห์ด้วยเครื่องเอฟทีไออาร์ พบว่าตัวอย่างหยกเจไดต์แสดงแถบการดูดกลืนแสงที่สำคัญที่ช่วง 3000-3500, 2150 และ 2060 cm-1 แถบดูดกลืนแสงที่ 3000-3500 cm-1 ระบุได้เป็น OH stretching mode แถบดูกลืนแสงที่ 2150 cm-1 บ่งบอกถึงคาร์บอนไดออกไซด์ แถบดูดกลืนแสงที่ 2060 cm-1 บ่งบอกถึงคาร์บอนมอนอกไซด์ จากผลของการวิเคราะห์โดยอิเล็กตรอน โพรบ ไมโคร-แอนนาไลซิส และยูวี-วิสิเบิล-เนียร์ อินฟราเรด สเปกโตรสโคปี พบว่าโครงสร้างของหยกเจไดต์ประกอบด้วย เหล็กเฟอริกและเหล็กเฟอรัส ซึ่งการพบเหล็กเฟอรัส (Fe2+) และเหล็กเฟอริก (Fe3+) เป็นตัวชีบ่งถึงการพบอินเตอร์วาเลนซ์ ชาร์ตทรานสเฟอร์ ในบางตัวอย่างพบโครเมียม และธาตุร่องรอยที่เป็นธาตุที่ทำให้เกิดสีคือ แมงกานีส โคบอลต์ วาเนเดียม และ ไทเทเนียม ในช่วงการดูดกลืนที่ 600-700 นาโนเมตร เหล็กและโครเมียมแสดงแถบดูดกลืนแสงที่ตำแหน่ง 370, 380 และ 420 นาโนเมตร และ แสดงช่วงการดูดกลืนที่ 600-700 และ 900-1000 นาโนเมตร ทำให้ทราบว่าสาเหตุการเกิดสีเขียวมาจาก เหล็กเฟอรัส-เหล็กเฟอริก อินเตอร์วาเลนซ์ ชาร์จ ทรานสเฟอร์ (ไอวีซีที) และโครเมียม ซึ่งเกิดการแทนที่ของไอออนในตำแหน่ง เอ็ม1 (ออกตะฮีดรอนออกซิเจนโคออร์ดิเนชั่น) ดังนั้นสาเหตุการเกิดสีเขียวในตัวอย่างหยกเจไดต์มาจาก เหล็ก โครเมียม และธาตุร่องรอยคือ โคบอลต์ วาเนเดียม และ ไทเทเนียม โดยไปอยู่ในตำแหน่งเอ็ม1 ซึ่งถูกล้อมรอบด้วนออกซิเจน 8 อะตอมในโครงสร้างของหยกเจไดต์ และในกลุ่มของตัวอย่างหยกที่มีสีอ่อนกว่าแสดงแถบการดูดกลืนแสงต่ำกว่าในกลุ่มตัวอย่างหยกที่มีสีเขียวเข้มกว่า แสดงให้ทราบว่าตัวอย่างหยกที่มีสีเข้มพบเหล็กและโคเมียมมากกว่า ดังนั้นเหล็กและโครเมียมมีปริมาณสูงขึ้นตามความเข้มของโทนสีเขียวen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.