Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69304
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Suraphong Wattanachira-
dc.contributor.authorWasu Rattananuraken_US
dc.date.accessioned2020-08-04T00:39:19Z-
dc.date.available2020-08-04T00:39:19Z-
dc.date.issued2014-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69304-
dc.description.abstractMembrane separation technology has been widely applied in water and wastewater treatment, especially in the water reclamation and recycling. However, the membrane fouling decreases the membrane efficiency and increases the cost of the process; thus limited the membrane application. There are two types of Membrane Bio-Reactor (MBR), immersed (iMBR) and side streamed (sMBR). However, the membranes surfaces of these two types MBR are always directly exposed to high concentration of suspended solid and easily to get fouling. A novel MBR was designed to reduce membrane fouling. The inclined plate setup in iMBR can separate high SS from direct contact with the membrane surface and decrease membrane fouling rate as expected. The novel iMBR used in this study consists of aeration zone, settling zone, and filtration zone. The synthetic wastewater was used in this study also. The reactor operated under the upflow mode of operation with 0.06µm membrane pore size. The results show that the novel iMBR can reduce the SS concentration in the filtration zone up to 98.6% and increase the permeate flux over 51.13% than that of normal conventional iMBR. For the effluent quality the COD and TOC were also measured. In the experiments and the results show that removal efficiency of COD and TOC in novel iMBR reached 96.9% and 96.8% respectively.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleMembrane Fouling Control in Submerged Membrane Bioreactor Using Inclined Plate Settleren_US
dc.title.alternativeการควบคุมการอุดตันของเมมเบรนในถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนโดยใช้แผ่นระนาบเอียงเพื่อช่วยตกตะกอนen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีด้านการกรองโดยเมมเบรนได้ถูกใช้อย่างกว้างขวางทั้งในระบบน้ำและในระบบบำบัดน้ำเสียโดยเฉพาะการบุกเบิกน้ำและการนำน้ำกลับมาใช้ อย่างไรก็ตามการอุดตันของเมมเบรนทำให้เกิดการลดลงของประสิทธิภาพของเมมเบรนและเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในกระบวนการซึ่งเป็นขีดข้อจำกัดของการใช้เมมเบรน ระบบของถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรน (Membrane bioreactor: MBR) แบ่งออกได้สองแบบคือเมมเบรนแบบจุ่ม และเมมเบรนแบบข้าง ซึ่งผิวของเมมเบรนทั้งสองแบบนี้ล้วนสัมผัสโดยตรงกับอนุภาคของแข็งซึ่งทำให้เกิดการอุดตันบริเวณผิวของเมมเบรนได้ง่าย ถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนแบบใหม่ถูกออกแบบเพื่อลดการอุดตันของเมมเบรน แผ่นเอียงถูกติดตั้งในถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนเพื่อใช้ในการแยกอนุภาคของแข็งตกตะกอนไม่ให้สัมผัสกับผิวของเมมเบรนและช่วยลดการอุดตันของเมมเบรนได้ตามวัตถุประสงค์ ถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนแบบใหม่(แบบจุ่ม)ที่ใช้ในการศึกษานี้ภายในถังประกอบไปด้วยบริเวณเติมอากาศ บริเวณตกตะกอน และบริเวณการกรอง ในถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนนี้จะอาศัยการไหลของของไหลในลักษณะการไหลขึ้นในแนวดิ่ง โดยมีเมมเบรนมีขนาดรูพรุนเท่ากับ 0.06 ไมโครเมตร ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนแบบใหม่สามารถกำจัดอนุภาคตกตะกอนได้สูงถึง 98.6 เปอร์เซ็นต์ และเพิ่มฟลักซ์ได้มากกว่า 51.13 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนแบบทั่วไป สำหรับประสิทธิภาพการบำบัดน้ำ ได้ทำการวิเคราะห์ค่า ซีโอดีและทีโอซี โดยค่าของ ซีโอดีและทีโอซีหลังจากการผ่านกระบวนการบำบัดด้วยถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนมีค่าลดลง 96.9 และ 96.8 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.