Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69164
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Jarunee Maneekul-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Pongsak Pankaew-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Uraiwan Hanwong-
dc.contributor.authorWannaubon Singyoocharoenen_US
dc.date.accessioned2020-07-30T01:24:03Z-
dc.date.available2020-07-30T01:24:03Z-
dc.date.issued2014-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69164-
dc.description.abstractThe purposes of this research are to develop the English for Social Sciences curriculum using Experiential learning with e-learning to enhance students’ paragraph writing ability, analytical thinking ability and moral awareness. The target group comprised 88 undergraduate students majoring in Political Science who enrolled in the English for Social Science course in the second semester of the 2013 academic year at Maejo University–Phrae campus. The research instruments were classified into 3 groups: 1) curriculum development instruments consisted of needs analysis and proto syllabus; 2) experiential instruments consisted of lesson plans, a curriculum evaluation form for the experts, and a curriculum evaluation form for students; 3) data collecting instruments consist of the paragraph writing ability tests, the analytical thinking ability tests that included essay writing tasks and group project assignments, and students’ moral awareness assessment form that included reflective writing assignments and moral behaviors observation. The data obtained were analyzed by using content analysis and descriptive statistics that included frequency, percentage, mean and standard deviation. The results of this research are the following: 1. The English for Social Science curriculum using experiential learning with e-learning which is evaluated by the experts is very effective. From students’ opinions, the curriculum is very appropriate. 2. Students’ paragraph writing ability after learning through the English for Social Sciences curriculum is at the competent level. Students’ ability in writing a problem – solution paragraph and a persuasive paragraph is at the competent level. Students’ ability in writing a cause and effect paragraph is at the developing level. Students received the highest score in a conflict – resolution paragraph writing. All of students meet the set criterion at 50 percent. 3. Students’ analytical thinking ability after learning through the English for Social Sciences curriculum is at the high level. 4. Students’ moral awareness after learning through the English for Social Sciences curriculum is at the high level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleDEVELOPMENT OF ENGLISH FOR SOCIAL SCIENCES CURRICULUM USING EXPERIENTIAL LEARNING WITH E-LEARNING TO ENHANCE PARAGRAPH WRITING ABILITY, ANALYTICAL THINKING ABILITY AND MORAL AWARENESS OF UNDERGRADUATE STUDENTSen_US
dc.title.alternativeหัวข้อวิทยานิพนธ์ การพัฒนาหลักสูตรกระบวนวิชาภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์โดยใช้ การเรียนแบบเน้นประสบการณ์ร่วมกับอีเลิร์นนิ่งเพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนอนุเฉท ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความตระหนักในคุณธรรมจริยธรรม ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์โดยใช้ การเรียนแบบเน้นประสบการณ์ร่วมกับอีเลิร์นนิ่ง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนอนุเฉท ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์จำนวน 88 คน ที่ลงทะเบียนเรียนกระบวนวิชาภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดแพร่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วย การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนการสอนกระบวนวิชาภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์และหลักสูตรแม่แบบ 2) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย แผนการสอนแบบเน้นประสบการณ์ร่วมกับอีเลิร์นนิ่ง แบบประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ และแบบประเมินผลการใช้หลักสูตรสำหรับผู้เรียน 3) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนอนุเฉทประเภทต่าง ๆ แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ได้แก่ โจทย์การเขียนเรียงความ และการเขียนรายงานโครงงาน และแบบประเมินความตระหนักในคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งประกอบด้วย การเขียนสะท้อนคิดเกี่ยวกับประเด็นคุณธรรมจริยธรรม และการสังเกตพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา บรรยายสรุป และหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลการประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรกระบวนวิชาภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์ โดยใช้การเรียนแบบเน้นประสบการณ์ ร่วมกับอีเลิร์นนิ่ง โดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า หลักสูตรที่ใช้มีประสิทธิภาพสูง และผลจากการประเมินหลักสูตรที่ได้จากความคิดเห็นของผู้เรียนพบว่าหลักสูตรกระบวนวิชาภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์มีความเหมาะสมมาก 2. ผลจากการใช้หลักสูตรกระบวนวิชาภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์โดยใช้การเรียน แบบเน้นประสบการณ์ ร่วมกับอีเลิร์นนิ่ง พบว่าผู้เรียนมีความสามารถในการเขียนอนุเฉทอยู่ใน ระดับดี ผู้เรียนมีความสามารถในการเขียนอนุเฉทด้านปัญหาและการแก้ไข และอนุเฉทแบบโน้มน้าวในระดับดี ความสามารถในการเขียนอนุเฉทเชิงเหตุและผลอยู่ในระดับปานกลาง และผู้เรียนสามารถเขียนอนุเฉทเพื่อเสนอแนวทางแก้ไขความขัดแย้งได้ดีที่สุด ผู้เรียนทุกคนผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ ร้อยละ 50 3. ผลจากการใช้หลักสูตรกระบวนวิชาภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์โดยใช้การเรียน แบบเน้นประสบการณ์ ร่วมกับอีเลิร์นนิ่ง พบว่าผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อยู่ในระดับดี 4. ผลจากการใช้หลักสูตรกระบวนวิชาภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์โดยใช้การเรียน แบบเน้นประสบการณ์ ร่วมกับอีเลิร์นนิ่ง พบว่าผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมในระดับสูงen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf7.76 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.