Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69055
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล-
dc.contributor.advisorบุญพิชชา จิตต์ภักดี-
dc.contributor.authorมนนพรัฐ อุเทนen_US
dc.date.accessioned2020-07-23T07:39:33Z-
dc.date.available2020-07-23T07:39:33Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69055-
dc.description.abstractNursing handover is a vital process for incoming nurses to know patient status and nursing care during the previous nursing shift. The purpose of this developmental study was to improve the quality of nursing handover in Surgery Male Ward 2 at, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. Study methodology was guided by the FOCUS-PDCA quality improvement process (Deming, 1993) which consists of 9 steps: find a process to improve; organize a team that knows the process; clarify current knowledge of the process; understand causes of process variation; select the processes for improvement; plan the improvement; do the improvement; check the results, data collection and analysis; and act to hold the gain and continue improvement. The study population included 14 registered nurses. The research instruments used were the interview guideline and the nursing handover observation checklist. Data were analyzed by descriptive statistics. The FOCUS-PDCA process helped the researcher to develop the nursing handover protocol. The researcher then trained nurses to perform the nursing handover process in compliance with the protocol. After implementation of the nursing handover protocol, the nurses were observed and 96.7 % of nurses were compliant with the protocol and handover times decreased from 26.4 minutes to 21.7 minutes. Almost all nurses were satisfied in the handover protocol, but there were some barriers in the nursing handover process developed. These included that outgoing nurses sometimes did not have enough time to fill out the handover form and some nurses were still unfamiliar with the new handover protocol. The results of this study showed that the nursing handover protocol developed can be used effectively and is beneficial for nurses to perform the nursing handover process. Administrators can apply this protocol to improve the quality of nursing handover to other departments.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2en_US
dc.subjectการรับส่งเวรen_US
dc.subjectการพัฒนาคุณภาพen_US
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeQuality improvement of nursing handover in surgical male ward 2, Maharaj Nakorn Chiang Mai hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.meshIntensive care units-
thailis.controlvocab.meshMaharaj Nakorn Chiang Mai hospital-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ม15ก 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการรับส่งเวรทางการพยาบาลเป็นกระบวนการสำคัญที่ทำให้ทราบถึงสภาพผู้ป่วยและการพยาบาลในเวรที่ผ่านมา การศึกษาเชิงพัฒนานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ วิธีดำเนินการศึกษาอาศัยกระบวนการปรับปรุงคุณภาพโฟกัสพีดีซีเอของเดมมิ่ง (1993) ซึ่งประกอบด้วย 9 ขั้นตอนได้แก่ การค้นหากระบวนการในการปรับปรุงคุณภาพ การสร้างทีมงานให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ การทำความเข้าใจกระบวนการที่จะปรับปรุง การทำความเข้าใจถึงสาเหตุของความแปรปรวนของกระบวนการ การเลือกวิธีการปรับปรุงกระบวนการ การวางแผนในการปรับปรุง การนำไปปฏิบัติ การตรวจสอบการปฏิบัติ และการยืนยันการดำเนินการและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ดำเนินการศึกษาได้แก่ แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม และแบบสังเกตการปฏิบัติของพยาบาลตามแนวทางการรับส่งเวรทางการพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ผลการศึกษาพบว่าการใช้กระบวนการโฟกัสพีดีซีเอ ช่วยให้ผู้วิจัยพัฒนาแนวทางการรับส่งเวรทางการพยาบาล และนำไปใช้ในการฝึกอบรมพยาบาล ให้สามารถปฏิบัติตามแนวทางการรับส่งเวรทางการพยาบาล ภายหลังนำแนวทางการรับส่งเวรทางการพยาบาลไปปฏิบัติจริง ผู้วิจัยได้ทำการสังเกตการปฏิบัติของพยาบาลพบว่า ร้อยละ 96.7 ของพยาบาลสามารถปฏิบัติตามแนวทางในการรับส่งเวรทางการพยาบาลได้ และระยะเวลาที่ใช้ในการส่งเวรลดลงจาก 25.6 นาทีเป็น 22.9 นาที พยาบาลเกือบทั้งหมดมีความพึงพอใจต่อแนวทางการรับส่งเวรทางการพยาบาล แต่ยังมีอุปสรรคในการรับส่งเวรทางการพยาบาลตามที่พัฒนาขึ้น ได้แก่ พยาบาลผู้ส่งเวรไม่มีเวลาในการบันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์มการส่งเวร และไม่คุ้นเคยกับการส่งเวรด้วยรูปแบบใหม่ ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า แนวทางการรับส่งเวรทางการพยาบาลที่พัฒนาขึ้น ทำให้การรับส่งเวรทางการพยาบาลมีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อพยาบาลในการรับส่งเวรทางการพยาบาล ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำแนวทางดังกล่าว ไปปรับปรุงคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลในหน่วยงานอื่นต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.